Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2758
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บรรเจิดศักดิ์ สัณหภักดี | - |
dc.contributor.advisor | Benjertsak Sannhapuckdee | - |
dc.contributor.author | ณัฐพงษ์ อิ่มสมัย | - |
dc.contributor.author | Nattapong Imsamai | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | - |
dc.date.accessioned | 2024-09-05T15:05:31Z | - |
dc.date.available | 2024-09-05T15:05:31Z | - |
dc.date.issued | 2014 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2758 | - |
dc.description | การศึกษาอิสระ (บธ.ม.) (บริหารธุกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2557 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการบุคลากรทางด้านอาชีวศึกษาภายหลังการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่มีความต้องการจำนวนมากกว่าปริมาณผู้ที่จบการศึกษาสายอาชีวะที่จะมารองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้น จึงได้ทำการศึกษาถึงความต้องการของแรงงานสายอาชีพตามความต้องการของตลาดแรงงานว่าเพราะเหตุใดจึงประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ผู้วิจัยดำเนินการวิจัย โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษาโดยทำการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เอกสารจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความต้องการแรงงานสายอาชีพ เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการทำศึกษาในครั้งนี้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพในด้านต่างๆ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน การศึกษาในครั้งนี้เป็นการเก็บข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษาโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลย้อนหลัง 10 ปี โดยทำการเก็บข้อมูลจากสถิติในปี 2546-2555 โดยการนำข้อมูลที่ได้มาทำการทดสอบความสัมพันธ์ของแต่ละตัวแปรโดยใช้วิธี Test of Normality เพื่อค้นหาความสัมพันธ์ของแต่ละตัวแปรว่ามีความสัมพันธ์กันหรือไม่และได้หาข้อมูลทางสถิติโดยใช้การคำนวณแบบถดถอย (Regression Analysis Enter) เพื่อคำนวณหาผลทางสถิติในการคำนวณหาค่าการพยากรณ์ด้วยวิธีการพิจารณาค่าเฉลี่ยของร้อยละ ความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์ของตัวแปร (Mean Absolute Percentage Error – MAPE) ที่มีค่าต่ำสุดในรูปแบบของ Regression และ Weight Average เพื่อทดสอบความสามารถในการพยากรณ์ของแบบจำลอง เพื่อหาแบบจำลองที่เหมาะสมที่สุดโดยการพยากรณ์ครั้งนี้ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความต้องการแรงงานในอนาคต | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.rights | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.subject | ประชาคมอาเซียน | en |
dc.subject | ASEAN Community | en |
dc.subject | กำลังคนระดับอาชีวศึกษา | en |
dc.subject | อุปสงค์แรงงาน | en |
dc.subject | Labor demand | en |
dc.subject | พยากรณ์การจ้างงาน | en |
dc.subject | Employment forecasting | en |
dc.title | ความต้องการบุคลากรระดับอาชีวศึกษาภายหลังการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ.2558 | en |
dc.title.alternative | Need of Labor in Vocational Education Degree after ASEAN Economic Community in 2015 | en |
dc.type | Independent Studies | en |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ | en |
Appears in Collections: | Business Administration - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Need-of-Labor-in-Vocational-Education-Degree.pdf Restricted Access | 8.97 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.