Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3109
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พวงชมพู โจนส์ | - |
dc.contributor.advisor | Puangchompoo Jones | - |
dc.contributor.author | ทนงศักดิ์ พันธเสน | - |
dc.contributor.author | Tanongsak Pantasen | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | - |
dc.date.accessioned | 2024-10-23T08:12:40Z | - |
dc.date.available | 2024-10-23T08:12:40Z | - |
dc.date.issued | 2010 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3109 | - |
dc.description | การศึกษาอิสระ (บธ.ม.) (บริหารธุกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2553 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาโดยอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการดำเนินงานในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่ก่อให้เกิดความสูญเปล่า และเพื่อหาแนวทางในการลดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในการผลิตโดยใช้แบบจำลอง (Simulation Model) โดยเป็นการศึกษาจากบริษัทที่ผลิตเกี่ยวกับอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยประยุกต์ใช้การสร้างแผนภาพสายธารคุณค่า เพื่อแสดงภาพรวมของการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ขนาด 200 ชิ้น ซึ่งพบว่ากรณีตัวอย่งนี้ มีกิจกรรมที่สร้างคุณค่าหรือความสูญเปล่าที่เกิดจากการรอคอยระหว่างกระบวนการโดยเฉลี่ยคิดเป็น 37% ของเวลาที่ใช้ในการผลิตทั้งหมด นอกจากนี้ ยังพบว่าการรอคอยระหว่างกระบวนการรับวัตถุดิบและการตรวจสอบความถูกต้องและมาตรฐานของวัสดุทำให้เสียเวลามากที่สุด คิดเป็นโดยเฉลี่ย 50% ตามด้วยระหว่างกระบวนการขัดพ่นสีและอบชิ้นงานคิดเป็นเปอร์เซ็นค์โดยเฉลี่ย 34% และระหว่างการตรวจสอบความถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดและตามด้วยกระบวนการการบรรจุเฉลี่ยคิดเป็น 16% ทั้งนี้สาเหตุของการรอคอยที่เกิดขึ้น เกิดจากการตรวจสอบคุณภาพ การรอคอยวัตถุดิบและการรอคอยกระบวนการถัดไปผลการศึกษาสามารถใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ได้และพบว่าความสูญเปล่าที่เกิดขึ้น้ในกระบวนการผลิตนี้ มีผลกระทบซึ่งกันและกัน และผลจากการศึกษาแนวทางในการลดความสูญเปล่าโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Arena Version 11.0 ในการสร้างแบบจำลองสถานการณ์ และสร้างระบบการจำลองการผลิตในสภาวะปัจจุบัน และหลังการปรับปรุงระบบ ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากเดิมคิดเป็น 45% และทำให้ต้นทุนต่อหน่วยของการจ้างทรัพยากรต่อคนลดลงจาก 3.17 บาท/วัน หรือคิดเป็น 2.33 บาท/วัน หรือคิดเป็นส่วนต่าง 0.84 บาท ต่อวัน จากผลการสร้างแบบจำลองสถานการณ์ | en |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.rights | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | en |
dc.subject | บริษัท เชอร์รี่ เสรีนา จำกัด | en |
dc.subject | Cherry Serina Company Limited. | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ | en |
dc.subject | Automobile supplies industry | en |
dc.subject | การควบคุมความสูญเปล่า | en |
dc.subject | Loss control | en |
dc.subject | การผลิตแบบลีน | en |
dc.subject | Lean manufacturing | en |
dc.subject | การบริหารงานผลิต | en |
dc.subject | Production management | en |
dc.title | การปรับปรุงการทำงานเพื่อลดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิตของอุตสาหรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ บริษัท เชอร์รี่ เสรีนา จำกัด | en |
dc.title.alternative | Work Performance Improvement by Reducing Waste in the Production Process of Automotive Part Industrial Cherry Serina Company Limited | en |
dc.type | Independent Studies | en |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ | en |
Appears in Collections: | Business Administration - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Work-Performance-Improvement.pdf Restricted Access | 14.71 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.