Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3232
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฏฐ์ษา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.advisorNuttsa Sanitvong Na Ayuttaya-
dc.contributor.authorธนพร ทัดไธสง-
dc.contributor.authorThanaporn Thatthaisong-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Social Work and Social Welfare-
dc.date.accessioned2024-11-09T11:47:20Z-
dc.date.available2024-11-09T11:47:20Z-
dc.date.issued2003-
dc.identifier.isbn9747145405-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3232-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (สส.ม.) (การบริหารสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปริมาณครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าโดยยึดตราสัญลักษณ์ 2. ศึกษาปัจจัยด้านจิตใจ สังคม และสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการซื้อสินค้าโดยยึดตราสัญลักษณ์ โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษาหญิงและผู้หญิงทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร อายุตั้งแต่ 18 ปี ขึ้นไป จำนวน 390 คนผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ พฤติกรรมการซื้อสินค้าโดยยึดตราสัญลักษณ์1. พฤติกรรมการซื้อสินค้าโดยยึดตราสัญลักษณ์ของนักศึกษาหญิงและผู้หญิงทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับประโยชน์ใช้สอยมากกว่า รองลงมาการเลือกซื้อ เพราะสร้างเสริมบุคลิกภาพความน่านับถือ และเหตุผลที่เลือกซื้อน้อยที่สุด คือ เพิ่มชนชั้นให้ตนเอง2. ปัจจัยชีวสังคมที่มีผล ได้แก่ อาชีพธุรกิจส่วนตัวเลือกซื้อสินค้าด้วยเหตุผลเพราะประโยชน์ใช้สอย กลุ่มอาชีพรับราชการซื้อด้วยเหตุผลเพราะสร้างเสริมบุคลิกภาคความน่านับถือและกลุ่มบริษัทเอกชน เลือกซื้อสินค้าด้วยเหตุผลเพื่อเพิ่มคุณค่าในตนเอง3. ปัจจัยด้านจิตใจที่มีความสำคัญต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้า โดยยึดตราสัญลักษณ์ของนักศึกษาหญิงและผู้หญิงทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร คือ ทัศนคติด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสินค้าที่มีตราและด้านความรู้สึกต่อการใช้สินค้ามีตราสัญลักษณ์ 4. ปัจจัยด้านสังคมที่มีความสำคัญต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้า โดยยึดตราสัญลักษณ์ของนักศึกษาหญิงและผู้หญิงทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร คือ ค่านิยมทางสังคม ทั้งแบบดั้งเดิม และสมัยใหม่ ส่วนปัจจัยทางด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ การเห็นแบบอย่างการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าจากการวิจัยครั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ภาครัฐ ควรส่งเสริม เพิ่มคุณค่าสินค้าไทยให้อยู่ในระดับสามารถแข่งขันกับสินค้าต่างประเทศ หรือให้มีตราสัญลักษณ์ และควรรณรงค์ให้คนไทยหันมาใช้สินค้าไทย และปลูกฝังค่านิยมทางสังคมไทยในยุคที่มีการต่อต้านลัทธิ์บริโภคนิยม เช่น ปลูกฝังค่านิยมความมัธยัสถ์ การใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย และทางสถาบันการศึกษาควรเพิ่มการเรียนการสอนด้านจริยธรรม การใช้ของอย่างประหยัดและครอบครัว ควรมีหน้าที่อบรม ขัดเกลา ห้ามปรามไม่ให้เด็กมีพฤติกรรมเน้นการบริโภคนิยมen
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen
dc.subjectConsumer behavioren
dc.subjectการซื้อสินค้าen
dc.subjectShoppingen
dc.subjectสินค้าแบรนด์เนมen
dc.subjectBrand name productsen
dc.subjectผู้บริโภคสตรีen
dc.subjectWomen consumersen
dc.titleพฤติกรรมการซื้อสินค้ามีตราสัญลักษณ์ของนักศึกษาหญิงและผู้หญิงทำงานในเขตกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeBrand-Name Consumed Behavior of Female Students and Working Women in Bangkoken
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการบริหารสังคมen
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Brand-Name-Consumed-Behavior.pdf
  Restricted Access
11.56 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.