Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3564
Title: ผลของเจลาตินเกล็ดปลาสลิดต่อเปลือกมะนาวในการผลิตเยลลี่ต้านอนุมูลอิสระ
Other Titles: The Effect of Sepatsiam Scales Gelatin to Dried Lime Peel in the Production of Antioxidant Jelly
Authors: อดิศักดิ์ วงศ์ษา
บังอร ฉางทรัพย์
พรพิมล กาญจนวาศ
Adisak Wongsa
Bangon Changsap
Pornpimon Kanjanavas
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology. Student of Bachalor of Science and Technology
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
Keywords: เจลาติน
Gelatin
การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์
Recycling (Waste, etc.)
ผลิตภัณฑ์พลอยได้
Waste products
เกล็ดปลาสลิด
Trichogoster pectoralis
เกล็ดปลา -- การนำกลับมาใช้ใหม่
Fish scale -- Recycling
ปลาสลิด
Snakeskin gourami
Sepatsiam
เยลลี่
Jelly
เปลือกมะนาว
Lime Peel
Issue Date: 2019
Citation: ว. วิทย์. กษ. 50(2)(พิเศษ): 297-300 (2562)
Abstract: This research studied on effect of fish gelatin to freeze-dried lime peel for jelly production. The comparison was performed by various ratio of fish gelatin per total weight that was divided into 5 formulas were 4.5% (A), 6.5% (B), 8.5% (C), 10.5% (D) and 12.5%(E) by weight, respectively and was fixed freeze-dried lime peel at 0.05%. Therefore, adding freeze-dried lime peel into jelly production is reason for food coloring agent, flavoring agent and increasing antioxidant. The results represented that formula E shown had higher acceptability indicating by yellow tone color index (L* 28.12, a* -0.10, b* 2.64, and hº 94.14), DPPH* radical scavenging property (0.81%) and texture (294.16 N), respectively.
งานวิจัยนี้ศึกษาอิทธิพลของเจลาตินจากเกล็ดปลาต่อผงเปลือกมะนาวในการผลิตเยลลี่ โดยทำการเปรียบเทียบอัตราส่วน ของเจลาตินต่อน้ำหนักโดยรวมทั้งหมด ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 สูตร คือ A, B, C, D และ E คิดเป็นร้อยละ 4.5, 6.5, 8.5, 10.5 และ 12.5 โดยน้ำหนัก ตามลำดับ โดยในแต่ละสูตรมีผงเปลือกมะนาวคิดเป็นร้อยละ 0.05 คงที่ เปลือกมะนาวแช่เยือกแข็งถูกใช้เพื่อการ แต่งสี แต่งกลิ่นและเสริมฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์เยลลี่ จากการทดลองพบว่าเยลลี่สูตร E ให้ค่าสี ฤทธิ์การต้านอนุมูล อิสระ DPPH และให้ค่าเนื้อสัมผัสของเยลลี่ดีที่สุด โดยให้สีโทนสีเหลือง มีค่า L  เท่ากับ 28.12 ค่า a  เท่ากับ -0.10 ค่า b  เท่ากับ 2.64 ค่า h เท่ากับ 94.14 มีค่าการต้านอนุมูลอิสระ DPPH* คิดเป็นร้อยละ 0.81 และมีค่าเนื้อสัมผัสของเยลลี่เท่ากับ 294.16 นิว ตัน ตามลำดับ
Description: สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : http://sci-database.hcu.ac.th/science/file/rsID297_F1_20200608112452.pdf
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3564
Appears in Collections:Science and Technology - Artical Journals

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
The-Effect-of-Sepatsiam-Scales-Gelatin.pdf86.33 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.