Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชุตา อยู่ยงค์-
dc.contributor.advisorWichuta Youyong-
dc.contributor.authorบุญประเสริฐ สุวรรณเพชร-
dc.contributor.authorBoonprasert Suwanpetch-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2025-02-08T07:38:55Z-
dc.date.available2025-02-08T07:38:55Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3638-
dc.descriptionการศึกษาอิสระ (บธ.ม) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2552en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์กระบวนการผลิตยางในของรถจักรยานรวมทั้งเพื่อศึกษาวิธีการ และการหาเวลามาตรฐานในกระบวนการผลิต เพื่อนำไปสู่การศึกษา และวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้เกิดการรอคอย หรือความสูญเปล่าในกระบวนการ และหาแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการให้มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้นในการศึกษาครั้งนี้ได้ใช้โรงงานผลิตยาง และยางในรถจักรยานแห่งหนึ่งเป็นกรณีศึกษาโดยมีแนวทางในการศึกษาเพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการในการผลิตของหน่วยงานอื่น ๆ ภายในบริษัทที่มีปัญหาเดียวกัน หรือเป็นแนวทางเพื่อนำไปใช้ในการศึกษาต่อยอดการปรับปรุงส่วนอื่น ๆ เพื่อความเป็นเลิศของบริษัทต่อไปวิธีการในการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการซักถามปัญหา และสังเกตการณ์ทำงานในกระบวนการที่สนใจโดยมีการจดบันทึกแล้วนำมาศึกษาวิเคราะห์ทำให้ทราบว่าในกระบวนการผลิตมีการรอคอยในสายการผลิตค่อนข้างสูง ซึ่งนำไปสู่ปัญหาความไม่สมดุลและสูญเปล่าในสายการผลิต จากปัญหาเหล่านี้ผู้ศึกษาก็ได้อาศัยเทคนิคของวิศวกรรมอุตสาหการ คือ ECRS (Eliminate, Combine, Rearrange and Simplify) มาใช้ แต่ในกรณีศึกษานี้จะใช้เฉพาะ C คือ Combine หมายถึงการรวมงานเข้าด้วยกัน โดยที่คนคนเดียวกันสามารถทำด้วยกันได้ และไม่กระทบกับสถานีงานก่อนและหลัง ซึ่งผลการปรับปรุงทำให้การทำงานในสายการผลิตมีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยลดอัตราการว่างงานของพนักงานในสายการผลิตจากร้อยละ 161.4 เหลือ ร้อยละ 67.2 และสามารถลดจำนวนพนักงาน จากเดิม 34 คน ให้เหลือเพียง 22 คนต่อการทำงาน 24 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 35 ที่สามารถประหยัด ได้ โดยที่มีความสามารถในการผลิต และ ของเสียในระหว่างผลิตเท่าเดิมen
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectจักรยาน -- ยางล้อen
dc.subjectBicycles -- Tiresen
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen
dc.subjectLoss controlen
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิตen
dc.subjectProcess controlen
dc.subjectการควบคุมต้นทุนen
dc.subjectCost controlen
dc.subjectการเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรมen
dc.subjectIndustrial productivityen
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการผลิตยางในรถจักรยานโดยการจัดสมดุลในสายการผลิต : กรณีศึกษาบริษัทผลิตยางรถจักรยานen
dc.title.alternativeInner Tube Manufacturing Process Improvement by Using Line Balancing Concept : A Case Study of A Bicycled-Tire Manufacturing Companyen
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจen
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Inner-Tube-Manufacturing-Process-Improvement.pdf
  Restricted Access
7.53 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.