Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3661
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorราวดี สุริสระพันธุ์-
dc.contributor.advisorRawadee Surisrapun-
dc.contributor.authorประสาร ร่มโพธิ์ธารทอง-
dc.contributor.authorPrasarn Rompotarntong-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2025-02-11T16:00:45Z-
dc.date.available2025-02-11T16:00:45Z-
dc.date.issued2001-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3661-
dc.descriptionภาคนิพนธ์ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2544en
dc.description.abstractภาคนิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาแนวโน้มของตลาดอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศขนาดเล็กที่จำหน่ายในประเทศไทย ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เมื่อเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ แม้ว่าประเทศไทยจะประสบกับภาวะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่ค่อนข้างวิกฤตแต่เครื่องปรับอากาศก็ยังคงมีการขยายตัว ทั้งนี้เนื่องจากความจำเป็นของการใช้ระบบปรับอากาศ เป็นเสมือนปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตการศึกษาครั้งนี้ได้นำข้อมูลสถิติการจำหน่ายของบริษัทชั้นนำที่เป็นที่นิยมแพร่หลายและรู้จักดีในประเทศ รวมทั้งผู้ที่เป็นผู้นำการตลาดมาศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์การแข่งขันเทียบกับเครื่องปรับอากาศ Trane โดยพิจารณาถึงจุดแข็งและจุดอ่อนคู่แข่งขันเพื่อเป็นบรรทัดฐานเปรียบเทียบในการกำหนดตำแหน่งทางการตลาด วิเคราะห์ปัญหาและหาสาเหตุเพื่อดำเนินการวางแผนการตลาดแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งจากข้อมูลทำให้ทราบว่า เครื่องปรับอากาศขนาดเล็กของ Trane มีส่วนแบ่งการตลาดไม่สูงนักเมื่อเทียบกับคู่แข่งขันจึงได้กำหนดเป้าหมายการตลาดขึ้นโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของบริษัทฯ เพื่อให้สามารถบรรลุความต้องการ กล่าวคือ ขอเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดให้ได้อย่างน้อย 1% ต่อปีตลาดเครื่องปรับอากาศขนาดเล็กเป็นตลาดสำหรับบ้านพักอาศัยที่มีศักยภาพในการขยายตัวมากที่สุด มีอัตราส่วนความต้องการภายในประเทศโดยเฉลี่ยประมาณ 75% ของทั้งหมด และมีอัตราการขยายตัวโดยเฉลี่ย ปีละ 10%ปัญหาของบริษัทฯ ที่เกิดขึ้นในช่วง 3 ปีที่ผ่านมานั้นบริษัทฯ มีส่วนแบ่งทางการตลาดดประมาณ 5% ของมูลค่าตลาดทั้งหมดในขณะที่คู่แข่งขันสำคัญมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่องทุกปี จึงจำเป็นที่ผู้บริหารจะต้องเร่งหาทางแก้ไข ด้วยการสร้างความแตกต่างทั้งในด้านตัวผลิตภัณฑ์และการให้บริการเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน นอกจากนี้ยังต้องคำนึงถึงช่องทางการจำหน่ายและการส่งเสริมการจำหน่าย ซึ่งในแต่ละด้านจะคำนึงถึงมุมมองของผู้บริโภคเป็นสำคัญข้อแนะนำและข้อเสนอแนะต่างๆ ในภาคนิพนธ์ฉบับนี้จะเป็นแนวทางให้บริษัทฯ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ต้องการได้ในอนาคตen
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศen
dc.subjectAir conditioning equipment industryen
dc.subjectการแข่งขันทางการค้าen
dc.subjectCompetitionen
dc.subjectการวางแผนเชิงกลยุทธ์en
dc.subjectStrategic planningen
dc.subjectบริษัท แอร์โค จำกัด -- การตลาดen
dc.subjectAirco Air Conditioning Co., Ltd. -- Marketingen
dc.titleการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศกรณีศึกษาบริษัท แอร์โค จำกัดen
dc.title.alternativeImproving the Competitiveness of Airco Air Conditioning Co., Ltd.en
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจen
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Improving-the-Competitiveness-of-Airco-Air-Conditioning.pdf
  Restricted Access
11.76 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.