Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/541
Title: | 克立. 巴莫与巴金笔下的男性形象一试论《四朝代》与《家》的文学创作 |
Other Titles: | วิเคราะห์ภาพลักษณ์ตัวละครชายในบทประพันธ์เรื่อง "สี่แผ่นดิน" โดยหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมทย์ และบทประพันธ์เรื่อง "บ้าน" โดยปาจิน A Comparative Study of Male Image in "Four Reigns" of M.R. Kukrit Pramoj and "Family" of Ba Jin |
Authors: | 王建设 Wang, Jianshe 白丽花 แนน วงศ์คำ |
Keywords: | ตัวละครในนวนิยาย Fictitious characters ตัวละครและลักษณะนิสัย Characters and characteristics การวิเคราะห์เนื้อหา Content analysis (Communication) Kukrit Pramoj, M.R. คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. Ba Jin วรรณคดีเปรียบเทียบ Comparative literature สี่แผ่นดิน (นวนิยาย) -- ประวัติและวิจารณ์ The Four Reigns -- History and criticism บ้าน (นวนิยาย) -- ประวัติและวิจารณ์ The Family -- History and criticism นวนิยายจีน -- ประวัติและวิจารณ์ Chinese fiction -- History and criticism. นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์ Thai fiction -- History and criticism. 小说中的角色 角色和性格 内容分析 中国小说 -- 历史与批评 泰国小说 -- 历史与批评 比较文学 |
Issue Date: | 2013 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | บทประพันธ์ เรื่อง "บ้าน" ของ ปาจิน เป็นผลงานประพันธ์ภาคแรกของหนึ่งในบทประพันธ์ชุดไตรภาค <<จีหลิวซันปู้ชวี่>> ผลงานประพันธ์เรื่องนี้ มีต้นแบบโครงเรื่องมาจากครอบครัวของผู้ประพันธ์เอง เกิดในช่วงยุคสมัยเหตุการณ์การเคลื่อนไหวขบวนการ 4 พฤษภาคมซึ่งนำมาเป็นภูมิหลัง บทประพันธ์เรื่อง "สี่แผ่นดิน" ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ที่ได้ก้าวผ่านกาลเวลาทางประวัติศาสตร์มาถึง 4 ราชวงศ์ ถึงแม้บทประพันธ์ของสองเรื่องนี้ จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ไม่ตรงกัน ภูมิหลังเรื่องราวทางสังคมและลักษณะการเมืองการปกครองก็ไม่เหมือนกัน แต่การพรรณนาเรื่องราวของบทประพันธ์ทั้งสองเรื่องล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของครอบครัวชนชั้นสูงเหมือนกัน รวมไปถึงความขัดแย้งทางอุดมการณ์ การเปลี่ยนแปลงทางด้านแนวคิดในช่วงเวลาที่หักเหของทางด้านประวัติศาสตร์และสังคมในยุคสมัยนั้น ดังนั้น จึงนำบทประพันธ์ทั้งสองเรื่องมาเปรียบเทียบให้เกิดความเข้าใจในประเด็นสำคัญๆ ในช่วงยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านแนวความคิดเก่ากับแนวความคิดใหม่ มุมมองและแนวคิดของผู้ประพันธ์การสะท้อนให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างแนวคิด สภาพความเป็นอยู่ของคนในสังคมของประเทศจีนและประเทศไทยในยุคสมัยนั้นได้อย่างชัดเจน วิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบบทประพันธ์ได้ ดังนี้ บทที่หนึ่งศึกษาเปรียบเทีบความสำคัญทางประวัติศาสตร์และทฤษฎีแนวคิดสร้างสรรค์ของผู้ประพันธ์ ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์และสังคมที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านแนวคิดเก่ากับแนวคิดใหม่ประวัติศาสตร์ในบทประพันธ์ เรื่อง "บ้าน" จะมีช่วงเวลาสั้นกว่าบทประพันธ์เรื่อง "สี่แผ่นดิน" บทที่สอง ศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์ตัวละครชายภายใต้ผลกระทบที่เกิดขึ้นในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านแนวคิด อุปนิสัย สภาพความเป็นอยู่ในสังคม บทที่สาม ศึกษาเปรียบเทียบ จุดเด่นด้านการใช้ภาษา การดำเนินเรื่องราวของบทประพันธ์และการพรรณนาถึงลักษณะของตัวละคร การใช้ภาษาของบทประพันธ์ทั้งสองเรื่องเหมือนกัน แต่ก็มีจุดเด่นการใช้ภาษาในลักษณะเฉพาะของตัวเอง ด้านการใช้ภาษาในบทประพันธ์เรื่อง "บ้าน" นั้น ภาษาที่ใช้จะเป็นภาษาแบบเรียบง่าย แต่ลึกซึ้ง บางตอนยังหยิบยกภาษาถิ่นมาใช้เพื่อเพิ่มอรรถรสทางภาษาให้แก่ผู้อ่านอีกด้วย ภาษาที่ใช้ในบทประพันธ์เรื่อง "สี่แผ่นดิน" ค่อนข้างจะคล้ายกัน ถึงแม้ว่าภาษาที่ใช้จะมีการเกลาสำนวนที่ไม่สละสลวยเท่าบทประพันธ์เรื่อง "บ้าน" แต่ภาษาที่ใช้ในบทประพันธ์เรื่อง "สี่แผ่นดิน" เต็มเปี่ยมไปด้วยเอกลักษณ์ความเป็นไทย ให้ความตราตรึงในอย่างลึกซึ้งกับผู้อ่านได้ Bajin's novel "The Family" is the firsth episode of his literature wirk known by the name of "The Torrents Trilogy". This novel is the literary realism style based ib the true incidents from the writer's family. The novel portrayed stories mainly occured during the modern times in China with the May 4th Movement as background. It describes the conflicts and opposite faces of ideology between the old and the new. In the meantime, Kukrit Pramoj's novel "The Four Reigns" spannes a much longer period of time. The leading character of the novel lived to witness the rise and fall of four sovereign rulers. The story background is likewise focused on the crossroads of old and new concepts during the time when social changes were constantly happening. Although these who pieces of novels were written in differecnt periods of time; also, countries and social background of stories were not the same, but both novels portayed day to dat livelihood of the noble families as well as described the conceptual thinking and conflict at the turn of social and historical junction. As a result, by making analyaia and comparisons between these two pieces of literary work would be a logical exercise by which I would understand more thoroughly the social changes and the replacement of old and new concepts in varied periods in the history. Meanwhile, I would see more clearly the writers' attitudes and viewpoints on social matters, and also perceive the living conditions of the noble classed during social and historical evolutions while learning the similar and different faces of the ideology changes. This thesis has largely divided into three chapters with a view to make comparative studies on the two mentioned novels. The first chapter separately eleborated on the meaning of the historicak contents and the conceptual creations of the writers. The narrations of both novels on history and social conditions as well as stories inside the novels have possessed obvious similarities. They both describe social evolutions abd changes of old and new concepts, with the exception that the time span of the "The Family" is relatively short while that of "The Four Reigns" is comparatively longer. The second chapter deals with analysis and comparisons of the leading male charaters inside the two novels, pointing out the influences of their different living environments, facing the same social and historical changes, etc. The third chapter studies and elaborates on the languages style, the creation of plots and the portrayal of main characters in the novels. Both novels share similarities on languae styles, but have got their own characterics, too. The language used in "The Family" is relatively simple but honest; gentle but solemn. It has also employed some dialect expressions, adding an aire of local uniqueness and a taste of village dwelling. Likewise, the language style used by "The Four Reigns" is does not contain florid phrases but its language style is rich with Thai traditional characteristic. Plain and simple language style; simple and not superfluous language leaves a profound impression to the general readers. 巴金的小说《家》的是 “激流三部曲” 中的第一部,《家》这部小说是以作者的家庭为原型创作的一部现实主义作品。作品中的故事主要发生在中国近代历史时期, 作品以五四新文化运动为背景, 描写了新旧思想的冲突和对立。克立·巴莫的《四朝代》故事的时间跨度比较大, 主人公一共经历了四个历史朝代。故事的大背景同样是处在新旧思想交替, 社会不断变革的时期。虽然这两部作品写作的时间不一样, 故事发生的国度和社会背景也不同, 但是两部小说写的都是贵族家庭的日常生活, 以及在社会和历史的转折时期的思想变化及冲突。所以将两部文学作品进行比较有一定的可行性。而且对两部作品进行比较, 能使我们更清晰地了解到, 在社会变革和新旧思想更替的历史时期, 作品的作者对社会的态度及看法,也能从作品的对比中看到中泰贵族阶级在历 史和社会变革时期的生活状态、思想变化方面的异同之处。 本论文主要从三个方面对两部作品进行比较研究。 第一章分别从作品历史意义和作者的创作理念等方面对两部作品的创作进行比较研究; 两部作品中所描写的历史和社会背景, 即故事发生的历史和社会背景具有很强的相似性。 作品中的背景都描写的是社会变革和新旧思想更替的历史时期。只是《家》的历史跨度比较小,《四朝代》跨度比较大; 论文第二章将对两部作品中的主要 男性人物进行比较研究, 从而找出其在不同生活环境的影响下, 面对同样的社会历史转折, 在思想、性格和婚姻生活等方面的异同点; 第三章主要从作品的语言特色、情节构思和人物塑造等三方面进行文本的比较研究。两部作品在语言上, 既有相似的地方, 也有自己的特色。《家》的语言, 比较朴实而淳厚, 平和而庄重, 作品中还运用了一些方言词, 为作品增添了一些地方特色和乡土味 道。《四朝代》的语言同样是比较朴素而浑厚的, 虽然同《家》一样没有太多华丽的修辞, 但是语言充满了泰国本土特色, 朴实淳厚, 朴实无华的语言给人朴实无华的语言给人以深刻的印象。在人物塑造和叙事视角方面, 由于作者所处的国家, 社会、处事思想和态度以及所受的教育的不同, 所以存在明显差异 |
Description: | Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2013 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/541 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nan-Wongkum.pdf Restricted Access | 35.36 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.