Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/543
Title: 鲁迅《祝福》与泰戈尔《一个女人的信》的比较研究
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบเรื่องสั้นของหลู่ ซวิ่น เรื่อง "การอวยพร" และของรพินทรนาถ ฐากูร เรื่อง "จดหมายจากผู้หญิงคนหนึ่ง"
A Comparative Study of Short Stories "Blessing" by Lu Xun and "A Women's Letter" by Babindranath" Tagore
Authors: 纪秀生
Ji, Xiusheng
内容分析
王丽贤
กฤตยา อัครธัญกร
Keywords: หลู่, ซวิ่น
Lu, Xun
ตากอร์, รพินทรนาถ, เซอร์, ค.ศ. 1861-1941
Tagore, Rabindranath, 1861-1941
สตรีในวรรณกรรม
Women in literature
นวนิยายจีน -- ประวัติและวิจารณ์
Chinese fiction -- History and criticism
นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์
Thai fiction -- History and criticism
วรรณคดีเปรียบเทียบ -- จีนกับไทย
Comparative literature -- Chinese and Thai
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
泰国小说 -- 历史与批评
中国小说 -- 历史与批评
比较文学
Issue Date: 2011
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: 鲁迅与泰戈尔是中国与印度现当代两个伟大的作家,本文将通过鲁迅的《祝福》与泰戈尔的《一个女人的信》两部作品中的女性形象之比较,来分析、研究两位小说主人公的女性悲惨命运。 鲁迅与泰戈尔生活在不同的国度,以及表现出不同的创作手法,显出中印女性在异同社会环境、传统道德观念、造成悲惨命运的影响因素。鲁迅笔下的祥林嫂深受封建宗法制度、封建礼教、和封建迷信迫害,她的人生悲剧重要因素是她抱着维护封建礼教思想,缺失反抗意识,屈从封建制度的势威。泰戈尔对印度封建势力嫉恶如仇,他反对宗教偏见,封建婚姻制度、种姓制度和腐朽落后的传统,他通过姆丽纳尔揭示印度女性的悲剧命运的同时,也鼓励女性敢于追求自己的人生幸福。 《祝福》与《一个女人的信》的比较研究,呈现出中印封建社会女性受到相似的奴役压迫。鲁迅与泰戈尔都不约而同地对女性给予极大的关注,在深切的怜悯,无限的同情中,两位作家对女性亲切的鼓力 两位作家对女性亲切的鼓力、呼吁自我觉醒以及启示中印女性追求解放的思想,在现实的社会和文学的世界中都有着重要的社会意义和文学价值。
หลู่ ซวิ่น และ รพินทรนาถ ฐากูร เป็นนักประพันธ์สมัยใหม่และร่วมสมัยที่ยิ่งใหญ่ของ ประเทศจีนและอินเดีย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้นำเรื่องสั้น “คำอวยพร” ของหลู่ ซวิ่น และ “จดหมายจากผู้หญิงคนหนึ่ง” ของรพินทรนาถ ฐากูร มาเปรียบเทียบ ศึกษา และวิเคราะห์ชะตากรรมอันน่าอนาถของผู้หญิง จากตัวละครเอกในนวนิยายของเขาทั้งสอง หลู่ ซวิ่น และ รพินทรนาถ ฐากูร ใช้ชีวิตอยู่ในประเทศที่แตกต่างกัน และมีวิธีการสร้างสรรค์วรรณกรรมที่ไม่เหมือนกัน ผลงานของเขาทั้งสองแสดงให้เห็นว่าปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดโศกนาฏ-กรรมแก่ชีวิตของผู้หญิงในจีนและอินเดีย นั้นคือ ความเหมือนและความต่างของสภาพแวดล้อมทางสังคม ค่านิยมโบราณของทั้งสองประเทศ เสียง หลิน ส่าว ในบทประพันธ์ของ หลู่ ซวิ่น มีชีวิตอยู่ภายใต้ระบอบศักดินาเธอถูกกดขี่ ข่มเหง มีความเชื่องมงาย ถูกครอบงำให้รักษาจริยธรรมคำสอนในแบบศักดินา การที่เสียง หลิน ส่าวประสบชะตากรรมที่น่าอนาถเช่นนี้ เพราะว่าเธอมีความคิดที่ยึดมั่นต่อคำสอนตามระบอบศักดินามาช้านาน จึงขาดจิตใต้สำนึกที่จะลุกขึ้นมาต่อต้าน อีกทั้งยินยอมให้อำนาจศักดินาคุกคามชีวิตมาโดยตลอด รพินทรนาถ ฐากูร ชิงชัง และรังเกียจระบบศักดินาของอินเดียเป็นอย่างมาก เขาต่อต้านอคติในการนับถือศาสนา การแต่งงานแบบโบราณ การแบ่งชั้นวรรณะ และประเพณีที่ล้าหลังของอินเดีย เขาได้แสดง ให้เห็นชะตากรรมอันน่าอนาถของผู้หญิง โดยเล่าเรื่องผ่านมุลินา ในขณะเดียวกันได้ให้กำลังใจผู้หญิงให้กล้าต่อสู้ เพื่อแสวงหาความสุขให้แก่ตนเอง จากการศึกษาเปรียบเทียบ “คำอวยพร” และ “จดหมายจากผู้หญิงคนหนึ่ง” ทำให้เราได้เห็นว่าผู้หญิงที่มีชีวิตอยู่ภายใต้ระบบศักดินานั้นได้รับการกดขี่ข่มเหงเสมือนหนึ่งเป็นทาส และด้วยความบังเอิญทั้งหลู่ ซวิ่น และ รพินทรนาถ ฐากูร ได้ให้ความสำคัญต่อชะตากรรมของผู้หญิงตลอดจนเห็นอกเห็นใจผู้หญิงเป็นอย่างมาก ทั้งสองท่านจึงได้ให้กำลังใจ เรียกร้องผู้หญิงในจีนและอินเดียให้มีสติ และมีความคิดที่จะปลดแอกตนเอง ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ งานเขียนของทั้งสองท่านจึงเป็นวรรณกรรมที่มีความหมายและมีคุณค่ายิ่งต่อสังคมยุคปัจจุบันและต่อโลกแห่งวรรณกรรม
Lu Xun and Rabindranath Tagore were the great Modern and contemporary writers of China and India. This thesis using Lu Xun’s short story “Blessing” and “A woman’s letter” from Rabindranath Tagore, to compare, study and analyze the tragedy of women from the two main characters in their novels. Lu Xun and Rabindranath Tagore spent their lives in different countries. They had their own way of creating literature. Their works shown that the similarities and differences of social environment; including the traditional values of the two countries are the main factor causing the tragedy to lives of women in China and India. Through his story Lu Xun analyzed lives of women in China; Siang Lin Sao is a woman who lived under the feudalism. In her life, she was persecuted by feudal system and taught to maintain ethics in feudalism. The reason that Siang Lin Sao had faced the tragic fate because she believed in feudalism for decades and dared not fight against it. In the contrary, she had accepted the power of the system over her. Rabindranath Tagore particularly detested feudalism in India. He opposed religious bias, traditional marriage, caste system and backwardness of the India tradition. He revealed the abject fate of women in India through Mulina’s story. At the same time he encouraged women in India to fight for their own pursuit of happiness. From a comparative study of “Blessing” and “A woman’s letter”, We can see that women living under feudal society in China and India were being treated as if they were slaves. Coincidentally, Both Lu Xun and Rabindranath Tagore had shown their compassion and deeply sympathy to the fate of the women in China and India. They awaked women to build up self conscious and desire to obtain liberty. That is the reason why their novels have become invaluable works to social and literary world.
鲁迅与泰戈尔是中国与印度现当代两个伟大的作家, 本文将通过鲁迅的《祝福》与泰戈尔的《一个女人的信》两部作品中的女性形象之比较,来分析、研究两位小说主人公的女性悲惨命运。 鲁迅与泰戈尔生活在不同的国度, 以及表现出不同的创作手法, 显出中印女性在异同社会环境、传统道德观念、造成悲惨命运的影响因素。鲁迅笔下的祥林嫂深受封建宗法制度、封建礼教、和封建迷信迫害, 她的人生悲剧重要因素是她抱着维护封建礼教思想, 缺失反抗意识, 屈从封建制度的势威。泰戈尔对印度封建势力嫉恶如仇,他反对宗教偏见, 封建婚姻制度、种姓制度和腐朽落后的传统, 他通过姆纳尔揭示印度女性的悲剧命运的同时, 也鼓励女性敢于追求自己的人生幸福。 《祝福》与《一个女人的信》的比较研究, 呈现出中印封建社会女性受到相似的奴役压迫。鲁迅与泰戈尔都不约而同地对女性给予极大的关注,在深切的怜悯, 无限的同情中, 两位作家对女性亲切的鼓力、呼吁自我觉醒以及启示中印女性追求解放的思想, 在现实的社会和文学的世界中都有着重要的社会意义和文学价值。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2011
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/543
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kritaya-Akaratunyakorn.pdf
  Restricted Access
2.68 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.