Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/556
Title: 苏童与安妮宝贝笔下的女性形象比较---以《妻妾成群》与《莲花》为例
Other Titles: การเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของผู้หญิงในงานเขียนของซูถงและอันหนีเป่าเป้ยจากเรื่อง "เมียหลวงเมียน้อย" และ "ดอกบัว"
Su Tong and Annie Baby's Female Images Compared---to "Wives and Concubines" and "Lotus" for Example
Authors: 刘文辉
Liu, Wenhui
周氏安
ธนเดช ทิวไผ่งาม
Keywords: สตรีในวรรณกรรม
Women in literature
วรรณคดีเปรียบเทียบ
Comparative literature
ดอกบัว (นวนิยายจีน) -- ประวัติและวิจารณ์
Lotus -- History and criticism
เมียหลวงเมียน้อย (นวนิยายจีน) -- ประวัติและวิจารณ์
Wives and Concubines (Chinese, Fiction) -- History and criticism
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
Su, Tong
ซูถง
Annie Baby
อันหนีเป่าเป้ย
文学中的女性
比较文学
内容分析
Issue Date: 2014
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: สำหรับนักเขียนผู้หญิงก็จะมีเอกลักษณ์ที่อ่อนไหวและแสดงถึงประสบการณ์ส่วนตัวที่เติบโตมา ซึ่งจะเผยให้เห็นถึงการดำรงอยู่ของผู้หญิงสมัยใหม่ ซึ่ง Annie Baby ก็เป็นหนึ่งในนั้น ผู้เขียนเชื่อว่า การสร้างสรรค์ของ Annie Baby นั้นมีความพิถีพิถันมาก ผลงานของ Annie Baby เริ่มต้นจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เธอกลายเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงมากในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เนื่องจากยุคนี้เป็นยุคที่เป็นผลมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศ เธอบรรยายภาพลักษณ์ของผู้หญิงของเธอเป็นผู้หญิงในสังคมเมือง ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจของตลาดและการเจริญเติบโตของเมือง อาจจะกล่าวได้ว่า ทั้งการสร้างสรรค์ในรูปแบบและเนื้อหาของ Annie Baby เป็นผลกระทบโดยตรงของ "อุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม" ที่ทันสมัย ดังนั้น ผู้เขียนตั้งใจที่จะยกตัวอย่างผลงานของ Annie ที่ชื่อว่า "Lotus" เป็นการแสดงถึงการอยู่รอดของผู้หญิงในสังคมสมัยใหม่ งานเขียนฉบับนี้เน้นถึงการเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของผู้หญิงในเรื่อง "Wives and Concubines" และเรื่อง "Lotus" ที่นำไปสู่ความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นในความแตกต่างของภาพลักษณ์ของผู้หญิงในเรื่อง "Wives and Concubines" และเรื่อง "Lotus" ที่เน้นถึงลักษณะทางด้านจิตวิทยาของผู้หญิงกับลักษณะทางด้านอุดมการณ์ของผู้หญิง ช่วงเวลาเป็นรูปแบบของการแสดงถึงภาพลักษณ์ของผู้หญิงและผู้เขียนมีแนวโน้มที่จะแสดงถึงค่านิยม แสดงให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของความเสมอภาคของผู้หญิงและสิทธิสตรีหลังจากที่จะเริ่มต้นภาพลักษณ์ของผู้หญิง ผู้หญิงยุคก่อนเผยให้เห็นถึงประเด็นความแตกต่างของผู้หญิงในสังคมปัจจุบัน
Women writers for its unique sensitivity and personal growth experience reveals the existence of modern women, Annie Baby is one of them. I believe that the creation of Annie Baby has it's particularity. Annie Baby's creation started in the network. She also becomes famous on the network. Itself is the ear of information technology with the outcome. Her depiction of the image of urban women, is accompanied by a market economy and urbanization occurs. It can be said, Annie Baby both form and content creation are the modern "cultural industries: direct consequences. Therefore, the author intends to Annie's work "Lotus" for example, interpret the survival of women in modern society. This paper focus on the female image comparison in the "Wives and Concubines" and "Lotus", contribute to further understanding of the difference between the femala image in "Wives and Concubines" and "Lotus", focus on women's psychological characteristics, and the female image forming characteristics of the times and the author tends to express the value, showing the risr of feminism and feminists began after different image of women, od women reveal differences have on women's issues in today's society revelation.
女性作家以其独特的敏感和自我成长体验揭示着现代女性的生存状态,安妮宝贝就是其中的一个。笔者认为安妮宝贝的创作很有其特殊性。安妮宝贝起步于网络成名于网络,本身就是借助了时代信息化的成果。她所描写的都市女性形象,也是伴随着市场经济和都市化进程出现的。可以说,安妮宝贝的创作无论从形式到内容都是现代化 “文化工业” 的直接后果。因此,笔者拟以安妮宝贝的作品《莲花》为例,解读女性在现代社会的生存。 本课题正是着眼于此,将《妻妾成群》与《莲花》中的女性形象进行比较,有助于对《妻妾成群》和《莲花》中的女性形象之间的不同作进一步了解,重点在女性心理特征和思想特征,以及女性形象形成的时代特征及作者要表达的价值倾向,展示女权主义开始兴起和女权主义之后的不同女性形象,揭示新旧女性的差别,对当今社会女性问题有所启示。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2014
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/556
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanadech-Thewphaingam.pdf7.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.