Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/570
Title: 尤今散文研究
Other Titles: การศึกษาร้อยแก้วของโหยวจิน
The Study of Eugene's Prose You Jin
Authors: 徐华
Xu, Hua
สวี่, ฮว๋า
林燕芳
พรทิพย์ ล้ำวีรประเสริฐ
Keywords: โหยวจิน -- ประวัติและวิจารณ์
Eugene -- History and criticism
การแต่งร้อยแก้ว
Essay
วรรณกรรมจีน
Chinese literature
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
尤今
散文写作
中国文学
内容分析
Issue Date: 2014
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: โหยวจิน นักประพันธ์สตรีชาวสิงคโปร์ เป็นที่รู้จักกันทั่วไป ด้วยผลงานการเขียน เรื่องห้องเล็กสีขาวในทะเลทราย "ซาโมเตอเสี่ยวไป๋อู" ใน ปี ค.ศ. 1981 ปัจจุบันยังมีผลงานการเขียนให้เห็นอยู่อย่างต่อเนื่อง ผลงานวรรณกรรมที่ผ่านมาประกอบด้ยย บทประพันธ์ประเภทร้อยแก้ว เรื่องสั้น บันทึกการเดินทาง นวนิยาย ฯลฯ จำนวนกว่า 140 เรื่อง ซึ่งล้วนเป็นที่สนใจและได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี จากผู้อ่านชาวจีน ในปี ค.ศ. 1991 ได้รับรางวัล "วรรณกรรมซินฮว๋า" วรรณกรรมภาษาจีนใหม่ และในปี ค.ศ. 1996 ยังได้รับรางวัล "มองบลังค์" วรรณคดีของศูนย์ศิลปะแห่งชาติสิงคโปร์ครั้งที่ 1 จนทำ ให้มีชื่อเสียงโด่งดังในวงการวรรณกรรมทั้งในและต่างประเทศ รูปแบบผลงานวรรณกรรมของโหยวจิน แบ่งออกได้ 4 ประเภท ได้แก่ เรื่องสั้น นวนิยาย บันทึกการเดินทาง และบทร้อยแล้ว ซึ่งเป็นผลงานที่ได้รับความนิยมอย่างสูงสุดจากผู้อ่าน ด้วยการผสมผสานแนวการเขียนหลากหลายระหว่างบทประพันธ์ร้อยแก้ว บันทึกการเดินทางท่องเที่ยวและเรื่องสั้น จึงทำให้บทประพันธ์ร้อยแก้วของโหยวจินมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในด้านของเนื้อหา บทร้อยแก้วของโหยวจินจะเน้นการพรรณนาเรื่องราวในชีวิตประจำวันเป็นหลัก ไม่เน้นการเขียนเรื่องราวสำคัญ เนื้อหาส่วนใหญ่มักจะถ่ายทอดอารมณ์ของบทกวีและแนวคิดเชิงปรัชญาผ่านตัวละครอันเรียบง่าย ประเด็นนี้ถือเป็นการถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างสมบูรณ์ที่สุดในวรรณกรรมของโหยวจิ้น นอกจากนี้โหยวจิน ยังเป็นผู้ที่หลงใหลการท่องเที่ยวเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งได้เขียนบันทึกการเดินทาง ที่พรรณนาเรื่องราวของประเทศต่างๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก วรรณกรรมประเภทเรื่องสั้นของโหยวจินถือเป็นอีกหนึ่งผลงานเขียนที่มีเอกลักษณ์และความโดดเด่นยิ่ง มีการผสมผสานระหว่างความสนุกสนานของชีวิตความเป็นอยู่และการท่องเที่ยวอันน่าสนใจ อย่างไรก็ตามประเด็นที่ควรให้ความสนใจที่สุด คือ การนำเนื้อหาด้าน "ความรัก ความจริง ความดี และความงดงาม" ที่โหยวจินแสวงหาและความต้องการถ่ายทอดมาเป็นเนื้อหาหลักในการเขียน แสดงให้เห็นถึงมนุษยธรรมของนักเขียนสัจนิยม หากพิจารณาจากการสร้างสรรค์ผลงาน โหยวจินได้ยึดหลักการสัจนิยม "เพื่อชีวิตมนุษย์" มาตลอดโดยจะให้ความสนใจกับชีวิตจริงและปัญหาของสังคม ซึ่งจะเห็นได้จากผลงานการเขียนส่วนใหญ่มักจะสอดแทรกความรับผิดชอบต่อสังคม ในด้านรูปแบบและลักษณะการเขียน โหยวจินจะใช้ภาษาที่เรียบง่ายถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกที่จริงใจและห่วงใยอีกทั้งยังถนัดการเขียนเชิงอุปมาอุปไมยเปรียบเทียบ ทำให้เป็นการใช้ภาษาที่งดงามและเชิงเอกลักษณ์ นอกจากนี้ ผลงานการเขียนของโหยวจินมักจะถ่ายทอดเอกลักษณ์ความเป็นจนที่ผสมผสานกับเอกลักษณ์ของประเทศต่างๆ ได้อย่างลงตัวสมบูรณ์ สิ่งที่น่าสนใจอีกประเด็นหนึ่งคือ ในวงการของนักวิจารณ์มักจะกล่าวถึงโหยวจินพร้อมกับ ปิงซินและซานเหมา นักเขียนหญิงอีกสองท่าน ซึ่งเชื่อว่าโหยวจินได้สืบทอดลักษณะ วิธีการเขียนของปิงซิน อีกทั้งยังมีหลายส่วนที่มีความคล้ายคลึงกับลักษณะงานเขียนของชานเหมา ซึ่งผู้เขียนกลับเห็นว่า ประเด็นข้างต้นถือเป็นข้อผิดพลาดประการหนึ่ง หากดูอย่างผิวเผินลักษณะการเขียนของโหยวจินจะมีความคล้ายคลึงกับซานเหมา ซึ่งในความเป็นจริงแนวคิดทาวด้านวรรณกรรมและวิธีการถ่ายทอดมีความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้น การกล่าวถึงและศึกษาความแตกต่างทางวรรณกรรมของผู้เขียนทั้งสองจึงเป็นวิธีการที่ถูกต้อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อเนื้อหาและลักษณะการเขียนของโหยวจิน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ด้านได้แก่ 1. การซึมซับทางด้านวัฒนธรรมจีนและจิตวิญญาณของการเคลื่อนไหว 4 พฤษภาอารมณ์ "ซื่ออู่จิงเสิน" 2. การเปิดกว้างทางด้านวรรณกรรมจีนของประเทศสิงคโปร์ 3. ปัจจัยทางครอบครัวและอาชีพของโหยวจิน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จะเน้นไปที่หัวข้อกับโครงเรื่อง หลักการสร้างสรรค์ผลงานกับรูปแบบการเขียน และเนื้อหาหลักกับปัจจัยที่ส่งผลต่อรูปแบบการเขียนบทความร้อยแก้วของโหยวจิน จึงเป็นการศึกษาและวิเคราะห์ความสำเร็จ ความมีเสน่หามีคุณค่าของบทประพันธ์ผลงานการเขียนของโหยวจินอย่างครอบคลุมและเป็นระบบ
Eugene, the Singaporean Chinense woman writer, rose to famous in 1981 by her White House in the Desert. She has been writing ceaseless since then, and so far has published nearly 140 words including prose, essay, travel notes, novel, and reportage and so on which caused a good response in the Chinese readers. She was awarded the first 'Xinhua Prize' 1991, and also the winner of the first Wanbaolong-literary prize of national central, which made her renowned at home and abroad in literature. There are four types of Eugene's works, namely essay, novel, travel notes and prose. Among them, the essay, travel notes and prose constitute the macroscopic world of her prose, which is her most popular area for the readers. Judging from yhe subjec, all of Eugene's prose is about daily life. She seldom writes big events, but always finds something poetic and philosophical in common people, which is obvious in her lyrical prose. Eugene, who is also a great traveler, has written a lot of travel notes which has a vivid and interesing description of the exotic places. Besides, the essay of Eugene is very unique, which is created by relaxing and humorous words with deep thought, and also among which there are many rich and colorful travel notes. What's more, Eugene always uses "big love" and calling for and conveying the "truth, the good and the beauty" as her theme which showd her humanism of a realistic writer. Judging from the creation principle, Eugene has always been on the realism of life, focusing on the real life and social problems. All her works shows strong social responsibility. On the style, Eugene usually simple and plain words to express sincere feelings, and is also good at using metaphor, which together form her unique aesthetic language. Besides, the works of Eugene also combines Chinese verve, exotic features, and nanyang flavor. What's more, the critics often mention Eugene in the same breath with Bibg Xin and San Mao. They think Eugene inherites the creation principle and style of Bing Xin, had also has similarity with San Mao. Byt Eugene and San Mao have different literature concepts and literary experssions, we should talk about the difference of them. The reasons for Eugene's prose theme and style are mainly three. First, she is influenced by traditional Chinese culture and the spirit of the May 4th movement. Second, the literature environment of Singapore is relatively broas which provides good creation environment for the writers. Third, the personal factors such as family, career are also play a role for her literature theme and style. This thesis will base on three aspects, namely, Eugene's prose subject and theme meaning, creation principle and the reason for the theme and style. Hopefully, this article can comprehensively and systematically explores the achievement, charm and creation gain and loss of Eugene's prose.
尤今,新加坡籍华文女作家,1981 年凭借《沙漠的小白屋》一举成名,至今笔耕不辍,已出版了包括散文、小品文、游记、小说、报告文学等在内的近140 部作品,在华人读者中引起了良好反响,于 1991 年荣获第一届“新华文学奖”,1996 年又将第一届 “万宝龙——国大艺术中心文学奖”收入囊中,蜚声海内外文坛。尤今的创作体裁共有小品文、小说、游记和散文四种。其中,小品文、游记和散文共同构成了其宏观上的散文世界,即尤今最为被读者欢迎和认同的领域。 从题材上讲,尤今的散文都是对日常生活的描摹和述说,她的笔下鲜有轰轰烈烈的大事件,而总是从最平凡的身影与面庞中挖掘诗意和哲思,这一点在她的抒情散文中有淋漓尽致的表现。另外,尤今还是一位“大旅行家”,创作了大量游记,对异国情调进行了生动而奇趣的彩描。最后,尤今的小品文也十分有特色,不仅以轻松幽默的笔触创作了思想深刻的生活小品,还有大量丰富多彩的旅游小品呈现。值得关注的是,尤今始终将追求 “大爱” ,呼唤及传达 “真、善、美” 作为自己作品的主题意蕴表达,显示了现实主义作家的人文关怀。 从创作原则上讲,尤今一直秉承 “为人生” 的现实主义,关注当下现实生活与社会问题,她的所有作品都表露出了强烈的社会责任感。风格上,尤今习惯以朴素的文字表达真诚质朴的感情,又善用比喻,形成了其独特的语言美感。另外,尤今作品还显现出了中华神韵、异国情调和南洋风味交融的特色,可谓独具一格。值得关注的是,评论界常将尤今与另两位女作家同时提起:冰心与三毛。认为尤今继承了冰心的创作原则和风格,又与三毛存在相似性。笔者认为,这是对尤今研究上的误区。尤今与三毛表面相似,但二者的文学观念与文学表达实有明显不同,从二者文学上的差异进行论述才更准确。 从尤今散文主题与风格形成的原因上看,主要有三个方面。首先是中国传统文化的滋润和 “五四” 精神的渗透。其次,相对其他区域来说,新加坡的华文文学环境较为宽泛,这无疑为作家提供了良好的创作条件,作家的主动性和独立性比较强。最后,尤今家庭、职业等个人因素也不容忽视。 本文将立足尤今散文的题材与主题意蕴、创作原则与风格以及主题与风格形成的原因三个方面,力求全面而系统地探究尤今散文世界的成就与魅力。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2014
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/570
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Porntip Lumveeraprasert.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.