Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/772
Title: | "语文分进"与"随文识字"教学模式在对外汉语教学中的对比研究----以泰国Thewphaingarm 学校为例 |
Other Titles: | การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการสอน "แบบการเรียนพูด-เขียนแยกกัน" และ "แบบการเรียนรู้ตัวอักษรพร้อมบทเรียน" ในการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ: กรณีศึกษาโรงเรียนทิวไผ่งาม Comparative Study of Teaching in the from of " Separating Speaking-Writing Learning Style" and "Learning Characters through Lesson Style" in Teaching Chinese as a Foreign Language : A Case Study from Thewphaingarm School |
Authors: | 熊柱 Xiong, Zhu 孙凡茹 Sun, Fanru |
Keywords: | โรงเรียนทิวไผ่งาม Thewphaingarm School ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) 汉语 -- 学习和教学 (中学) ภาษาจีน -- บทสนทนาและวลี Chinese language -- Conversation and phrase books Chinese language -- Study and teaching (Secondary) ภาษาจีน -- การเขียน Chinese language -- Writing 汉语 -- 写作 ตัวอักษรจีน Chinese characters 体又拍俺学校 |
Issue Date: | 2018 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | 长期以来, 在汉字教学中, 汉字和拼音的衔接问题即汉字的输入时间和输入路径问题受到广泛重视, 这问题直接影响着学习者的学习情绪和学习习惯. 本研究以Thewphaingarm学校汉字学习现状为出发点, 对对外汉字教学的两大模式进行思考, 从现代汉语基本结构单位的角度分析"语文分进"和"随文识字"教学模式形成的内在原因. 在教学实验进行前, 对Thewphaingarm学校初一至初三共四个班的学生进行了随机问卷调查, 对学生的汉语学习动机, 学习态度, 学习习惯进行了分析. 同时, 为了解曼谷地区的对外汉字教学情况, 对25所学校的汉语教师进行了问卷调查. 随后, 以Thewphaingarm学校初二年级A, B两个平行班作为教学实验对象, 分别进行了"语文分进""随文识字"教学模式的实验对比. 在对测试结果进行数量分析的过程中发现, "随文识字班"的笔试成绩略高于"语文分进班", 而汉字认读和综合测试成绩明显高于"语文分进班". 可以看出"随文识字"比"语文分进"更符合零起点学习者的学习习惯. 教学实验后, 本人对两种教学模式进行评估和反思, 对教学方案进行了优化设计. 又从"本位"问题, "文""语"关系问题分析了两种教学模式的特点, 从研究对象的母语角度分析得出"随文识字"教学效果更好, 更符合以泰语为母语的青少年汉语初学者的学习特点的结论. เป็นระยะเวลานานมาแล้วที่ในการเรียนการสอนตัวอักษรจีนนั้้นปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวอักษรจีนและสัทอักษรพินอิน กล่าวคือ ปัญหาด้านเวลา และวิธีใส่ความรู้ตัวอักษรจีน กล่าวคือ ปัญหาด้านเวลาและวิธีใส่ความรู้ตัวอักษรจีนให้ผู้เรียนนั้นได้รับความสำคัญอย่างแพร่หลาย ปัญหาดังกล่าวส่งผลโดยตรงต่ออารมณ์และความเคยชินในการเรียนรู้ของผู้เรียน งานวิจัยนี้จะศึกษาจากสภาพปัจจุบันในการเรียนรู้ตัวอักษรจีนของนักเรียนโรงเรียนทิวไผ่งามเพื่อทบทวนสองรูปแบบใหญ่ที่ใช้ในการเรียนการสอนตัวอักษรจีน จากนั้นวิเคราะห์ปัจจัยภายในอันเกิดจากรูปแบบการสอนสองแบบ คือ "รูปแบบการเรียนพูด-เขียนแยกัน" และ "รูปแบบการเรียนรู้ตัวอักษรพร้อมบทเรียน" โดยวิเคราะห์จากมุมมองของหน่วยโครงสร้างพื้นฐานของภาษาจีนปัจจุบัน ก่อนที่จะทำการทดลองด้านการเรียนการสอน ผู้วิจัยได้สุ่มทำแบบสอบถามจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนทิวไผ่งาม รวม 4 ห้องเรียน เพื่อวิเคราะห์แรงบันดาลใจในการเรียน ทัศนคติต่อการเรียน และความเคยชินในการเรียนภาษาจีนของนักเรียน ในขณะเดียวกันยังได้ทำแบบสอบถามแก่ครูสอนภาษาจีนใน 25 โรงเรียน เพื่อให้เข้าใจสภาพการเรียนการสอนตัวอักษจีนในฐานะภาษาต่างประเทศในพื้นที่กรุงเทพมหานครอีกด้วย หลังการทดลอง ผู้วิจัยได้ประเมินและทบทวนรูปแบบการเรียนการสอนทั้งสองแบบนี้ และปรับแผนการสอนให้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังวิเคราะห์ลักษณะเด่นของทั้งสองรูปแบบนี้จากปัญหาด้าน "ภาษาจีน" และปัญหาความสัมพันธ์ระหว่าง "การเขียน" และ "การพูด" พร้อมวิเคราะห์จากมุมมองด้านภาษาแม่ของกลุ่มเป้าหมายการวิจัย ได้ข้อสรุปว่าการเรียนการสอน "รูปแบบการเรียนรู้ตัวอักษรจีนพร้อมบทเรียน" มีประสิทธิภาพดีกว่า เหมาะสมกับลักษณะพิเศษในการเรียนรู้ของผู้เรียนวัยเยาว์ที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาแม่มากกว่า For a long time, in teaching Chinese characters, the problem of the relationship between the Chinese characters and its Pinyin phonetics, which is the problem of time and the way to introduce Chinese characters to the learners, has been widely recognized. This problem directly affects the mood and learning habit of learners. This research will study the current state of learning the Chinese characters of the students from Thewphaingarm School to review the two major forms used in Chinese character instruction and then, analyze the internal factors resulting from the two forms of teaching: "Separating speaking-writing learning style" and "Learning characters through lesson style" by analyzing from the perspective of the current Chinese language structure unit. Prior to the teaching experiments, the researcher randomly collected the questionnaires from Matthayom 1-3 students from Thewphaingarm School, totaling 4 classrooms, to analyze their motivation of studying, attitude towards learning and the habit of learning Chinese of the students. Meanwhile, the questionnaires for instruction survey were also given to Chinese language teachers as a foreign language in Bangkok. After the experiments, the researcher evaluated and reviewed the two forms of teaching style and improved the teaching plan. Also, the researcher analyzed the characteristics of both forms of teaching style from the problems of "Chinese language" and the relationship between "writing" and "speaking" in the perspective of the mother tongue language of the target sample groups. It is concluded that the teaching form of "Learning Chinese characters through lesson style" is more efficient and appropriate with specific learning characteristics of the young learners who use Thai as their mother tongue. |
Description: | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2018 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/772 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SUN-FANRU.pdf Restricted Access | 4.09 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.