Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/855
Title: 泰国国别化初级汉语教材的编写与评估—— 以《跟我学汉语》《体验汉语》为实例研究
Other Titles: การประเมินและการเรียบเรียงหนังสือแบบเรียนภาษาจีน -- โดยแบบเรียน (เรียนภาษาจีนกับฉัน) และ(สัมผัสภาษาจีน)
Compile and Assess Country-Specific Chinese Elementary Teaching Materials in Thailand -- Analysis (Learning Chinese with Me) and (Experience Chinese) as Example
Authors: 李寅生
Li, Yinsheng
李璐
Lu Li
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
ภาษาจีน -- แบบเรียน
ภาษาจีน -- ตำราสำหรับชนต่างชาติ
Chinese language -- Textbooks for foreign speakers
汉语 -- 对外教科书
Issue Date: 2015
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: ทฤษฎีการทำหนังสือเรียนของเมืองไทยนั้น การพัฒนาแบบเรียนภาษาจีนเป็นการพัฒนาหนึ่งที่เป็นแนวทางใหม่ ผู้เขียนได้ศึกษาจากแนวโน้มของการพัฒนาแบบเรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เอกสาร วิธีการเปรียบเทียบ และวิธีการเก็บข้อมูลทางด้านสถิติ วิเคราะห์และแยกแยะเหตุผลหลักที่ใช้ทำแบบเรียนภาษาจีนในประเทศไทยในปัจจุบันและรวมถึงสภาพการใช้แบบเรียนภาษาจีนในเมืองไทย ในขณะนี้ โดยใช้หนังสือเรียนภาษาจีนกับฉันและสัมผัสภาษาจีนที่ผู้เขียนนั้นได้ใช้สอนอยู่ที่โรงเรียนปัจจุบัน มาทำการตรวจสอบแบบเรียนภาษาจีนที่ใช้อยู่ในเมืองไทยในปัจจุบันและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ผู้เขียนได้ให้ความสำคัญไว้ทั้งหมด 5 ด้านดังนี้ ด้านแรก ผู้เขียนได้สร้างระบบวิเคราะห์ที่เห็นผลได้ และได้สร้างมาจากฐานข้อมูล วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในการใช้แบบเรียนภาษาจีนต่างๆ ในเมืองไทยในปัจจุบัน จากนั้นเสนอแนะแนวทางการแก้ไข ด้านที่ 2 ได้สร้างระบบการวิเคราะห์การเขียนแบบเรียน ได้เสนอวิธีการวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการออกเสียง คำศัพท์ ไวยากรณ์ บทสนทนา และวัฒนธรรม อีกทั้งยังออกแบบระบบกาประเมินการเรียน ด้านที่ 3 จากการศึกษาหนังสืออ้างอิงของแบบเรียนพบว่า ยังขาดข้อมูลทางการศึกษาทำการวิเคราะห์ข้อมูลพื้้นฐาน และทำการประเมินหนังสืออ้างอิงของแบบเรียน ด้านที่ 4 วิเคราะหข้อมูลของสมุดแบบฝึกหัดอย่างละเอียด ชี้ปัญหาที่มีอยู่ในแบบเรียนที่เป็นแบบฝึกหัดที่ประเทศไทยใช้ในปัจจุบัน และทำการวิเคราะห์เพื่อแสดงให้เห็น พร้อมทั้งทำการประเมิน สุดท้าย ผู้เขียนได้สร้างหลักสูตรการสอนที่เหมาะสมสำหรับนักเรียนไทยที่เรียนภาษาจีนในขั้นพื้นฐาน และได้เสนอทฤษฎีการพัฒนาแบบเรียนภาษาจีนสำหรับผู้เริ่มเรียน
Country-specific of textbook theory is a new direction for the development of Chinese language teaching abroad. In this paper, we follow the trend of country-specific of textbooks theory, using the literature analysis, comparative study of various educational research methods, data statistics method, and sampling method to investigate the Thai foreign language teaching materials usage, to analyze the cause of Chinese teaching in Thailand the main factor in the use of the status auo, and based on current usage profile in Thailand Chinese teaching materials, especially in the school where the authors used "Learning Chinese with Me" and "Experiencing Chinese" as the main basis for the investigation, for the country of textbooks written analyzed of the system. There are mostly five areas of the article includes the following: First, the establishment of an effective research system, namely through the establishment of a database, analysis of the current use of various Chinese textbooks problems in Thailand and propose the solutions to solve. Secondly, the text written analyzes of the system, a detailed list of the analysis methods and evaluation system of voice, vocabulary, grammar, topics, and cultural point of the part involves in the preparation of the text. Thirdly, the scarcity of teaching aids for teaching materials, basic information and analysis of the advantages, disadvantages, and teaching aids proposed assessment meanings. Fourth, the detailed analysis of the Workbook of basic information, pointed out the main problems of currently using the workbooks in Thailand, and demonstrated Evaluation System according to the study. Finally, this paper proposes the development of the theory of elementary Chinese textbooks in Thailand, expounds the allocation of the preparatory work, and establishes an effective curriculum for elementary Chinese language learners in Thailand.
国别化教材理论是对外汉语教材编写发展的一个新方向,本文将顺应国别化教材的发展趋势,运用文献分析法、比较研究法、数据统计法、抽样调查法等多种教育科学研究方法,考察了泰国对外汉语教材的使用情况,分析出导致泰国汉语教材使用现状的主要原因,并根据目前在泰汉语教学教材的使用概况,特别是以论文作者所在学校使用的《跟我学汉语》和《体验汉语》为主要依据展开调查,对国别化教材的编写进行了系统的分析。本文主要包括以下五个方面: 首先,本文建立了一套行之有效的研究体系,即通过数据库的建立,分析了当前泰国使用的各种汉语教材存在的问题,然后提出解决问题的方法。 第二,对课文编写进行了系统的分析,详尽地列举了课文编写中所涉及的语音、词汇、语法、话题和文化点部分的分析方法以及评估体系。 第三,针对教学参考书这一稀缺的教学资料,进行了基本信息和优缺点的分析,并对教学参考书提出了评估义项。 第四,详尽地分析了练习册的基本信息,指出了当前在泰国使用的练习册中所存在的问题,并根据论文作者的研究进行了评估体系的论证。 最后,论文作者提出了泰国国别化初级汉语教材的研发理论,在文中就编前准备工作进行了论述,并且建立了一套行之有效的针对于泰国初级汉语学习者的教学大纲。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2015
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/855
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
LI-LU.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.