Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/882
Title: 泰国洛坤府十月节与中国中元节文化教学设计研究
Other Titles: การศึกษาออกแบบการเรียนการสอนประเพณีสารทเดือนสิบจังหวัดนครศรีธรรมราช และประเพณีสารทจีน ประเทศจีน
Research on the Cultural Teaching Design Sart Duan Sib Tradition in Nakhon Si Thammarat Province and the Chinese Zhongyuan Festival
Authors: 李寅生
Li, Yinsheng
邓美珍
กนกวรรณ หลี่
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
จีน -- ความเป็นอยู่และประเพณี
China -- Social life and customs
中国 -- 社会生活和习俗
ไทย (ภาคใต้) -- ความเป็นอยู่และประเพณี
Thailand, Southern -- Social life and customs
นครศรีธรรมราช -- ความเป็นอยู่และประเพณี
Nakhon Si Thammarat -- Social life and customs
พิธีทางศาสนาและพิธีกรรม -- ไทย
Rites and ceremonies -- Thailand
พิธีทางศาสนาและพิธีกรรม -- จีน
Rites and ceremonies -- China
泰国(南部) -- 社会生活和习俗
宗教仪式与仪式 -- 泰国
宗教仪式与仪式 -- 中国
洛坤府 -- 社会生活与习俗
Issue Date: 2020
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: วัฒนธรรมประเพณีเป็นแบบแผนในการดำเนินชีวิตของกลุ่มชน การเข้าใจวัฒนธรรมของกลุ่มชนใดกลุ่มชนหนึ่งหรือสังคมใดสังคมหนึ่งจะสามารถเข้าใจวิถีชีวิตของกลุ่มชนหรือสังคมนั้นได้ โดยในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษาการออกแบบการสอนระหว่างสองประเพณี คือ ประเพณีสารทเดือนสิบ จังหวัดนครศรีธรรมราช และประเพณีสารทจีน ประเทศจีน ซึ่งในประเพณีสารทเดือนสิบ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นประเพณีที่มีความสำคัญต่อชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นอย่างมาก เนื่องจากเชื่อว่าประเพณีนี้จัดขึ้นเพื่อเป็นการอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว สะท้อนให้เห็นถึงความกตัญญกตเวทีต่อบรรพบุรุษ อีกทั้งเป็นช่วงเวลาที่ญาติพี่น้องได้กลับมาพบปะกันในครอบครัว ในส่วนของประเพณีจีนนั้น คือ ประเพณีสารทจีน โดยเรียกตามภาษาจีนว่า 中元节 จงหยวนเจี๋ย แปลว่า เทศกาลจงหยวน หมายถึง การไหว้ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 ของจีน ซึ่งเทศกาลสารทจีน มีชื่ออีก 2 ชื่อที่นิมเรียกกันคือ "ชีเยวี่ยปั้น" แปลว่า เทศกาลกลางเดือน 7 และ "กุ่ยเจวี๋ย" แปลว่า เทศกาลผี ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ลูกหลานชาวจีนจะได้แสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษด้วยการเซ่นไหว้ และยังถือเป็นเดือนที่ประตูนรกเปิดให้วิญญาณทั้งหลายมารับบุญกุศล วัตถุประสงค์ของการวิจัยศึกษา คือ 1) เพื่อศึกษาความเหมือนของประเพณีสารทเดือนสิบ จังหวัดนครศรีธรรมราช และประพณีสารทจีน 2) เพื่อศึกษาความต่างของประเพณีสารทเดือนสิบ จังหวัดนครศรีธรรมราช และประเพณีสารทจีน 3) เพื่อศึกษารูปแบบการประกอบพิธีกรรมของประเพณีสารทเดือนสิบ จังหวัดนครศรีธรรมราชและประเพณีสารทจีน 4) เพื่อศึกษารูปแบบการสืบทอดของประเพณีสารทเดือนสิบ จังหวัดนครศรีธรรมราชและประเพณีสารทจีน 5) เพื่อนำความรู้ที่ได้จากการวิจัยมาออกแบบการเรียนการสอนเรื่องประเพณีสารทเดือนสิบ จังหวัดนครศรีธรรมราชและประเพณีสารทจีน ผลจากการศึกษาพบว่าประเพณีสารทเดือนสิบ จังหวัดนครศรีธรรมราชและประเพณีสารทจีนมีการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงที่มาและความสำคัญของทั้งสองประเพณีอีกด้วย
Culture is a way of life for every community. Understaning about particular culture of each community or each society can lead to understaning of their life styles. Tradition is an essential part of a culture which appears in every nation and language. It is an indication of civilization of the nation or the society in each location in specific period of time which is worth studying and perserving since traditions is changing according to time and social context. Sart Duan Sib Tradition is extremely influential to the people in Nakhon Si Thammarat Province because they believe the tradition to be about making merit for their deceased relatives who were condemmed to hell as hungry demons. It is an act of gratitude towards their ancestors. During this tradition, it is an opportunity for family members to meet and share the story of their lives strengthening up their relationships. Sart Duan Sib Tradition in Nakhon Si Thammarat Province is still alive through time precisely because of the opportunity it provides each year. As for Sart Jeen Tradition, it is one of the most important tradition in Chinese culture. Sart Jeen means a worship on 15th day of waxing moon on 7th month of lunar calender. It is called in Chinese as "Zhong Yuan Jie" which meand Zhong Yuan Tradition. Sart Jeen Tradition is known in two different names which are "Qi Yue Ban" and "Gui Jie". Qi Yue Ban means the tradition in the middle of the 7th month and Gui Jie meand spirit tradition. It is the tradition when the descendants show their gratitude towards thier ancestors by making offerings to the spirits and it is considered to be the way of opening the hell gate for the spirits to come and get the offerings. The study of Sart Duan Sib Tradition in Nakhon Si Thammarat Province and Sart Jeen Tradition depicts that the traditions are changing according to time and social context. Therefore, the study of the two traditions in order to learn their characteristics and the practices of the community is crucial for comparing the similarities and differenece. Moreover, it is to learn the cultural exchange between Thailand and China.
文化习俗作为人民群众生活中的一部分,了解某一些民众或者群体的文化就能知道他们的生活方式,此次研究泰国洛坤府十月节和中国中元节两种习俗之间的教学设计,洛坤府十月节对于当地民众有着很重要的影响,组织十月节活动是由于民众相信这个习俗能给逝去祖先们的寄与善德,且反映了对祖先们的敬仰缅怀之情,另外也是家族里兄弟姐妹能相聚在一起的时候,至于中国的习俗,称为中元节,中元(泰语 จงหยวน)意思是中国的 7 月 15,中元节还有两种叫法,习惯称之为“7 月半”,译为 7 月的月中和“鬼节”,译为鬼的节日,那段时间是中华儿女们以祭拜的方式表达对祖先们的哀思寄托,也视为地狱之门打开让鬼魂们出来接受阴德的月份。 研究的目的是 1)研究泰国洛坤府十月节和中国中元节的祭拜仪式和传统风俗的相似性。2)研究泰国洛坤府十月节和中国中元节的祭拜仪式和传统风俗的差异性。3)研究如何使泰国洛坤府十月节和中国中元节的文化相融合。4)研究如何使后人更好地学习并继承这两种传统文化。5)使用本研究的知识教授给学生。研究结果表明泰国洛坤府十月节和中国中元节按照时代和社会情境产生了一些演变,另外通过 Think Pair Shair 理论在教学模式中传播中泰习俗,以此来使学习的人能了解两种习俗的来源与重要性。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) --Huachiew Chalermprakiet University, 2020
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/882
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KANOKWAN-LI.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.