Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/897
Title: | 泰国大学学生汉字笔顺教学策略研究----以泰国呵叻皇家大学为例 |
Other Titles: | ศึกษาการเขียนลำดับขีดของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา Thai University Students to Study Chinese Character Stroke Teaching Strategies - Case Study of Thailand Nakhon Ratatchasima Rajabhat University |
Authors: | 李寅生 Li, Yinsheng 卢明月 จินตนา แย้มละมุล |
Keywords: | ภาษาจีน -- การเขียน Chinese language -- Writing 汉语 -- 写作 ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา) Chinese language -- Study and teaching (Higher) 汉语 -- 学习和教学 (大学) ตัวอักษรจีน Chinese characters 汉字 |
Issue Date: | 2014 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | อักษรจีนเป็นตัวอักษรที่บันทึกเรื่องราวของภาษาจีน ซึ่งอักษรจีนมีลักษณะเด่น คือ มีการรวมเสียง ความหมาย และรูปแบบอยู่ในตัวเดียวกัน เป็นตัวอักษรที่สามารถสื่อถึงความหมายได้ การเรียนรู้ตัวอักษรจีนนั้นจึงเป็นพื้นฐานในด้านการเรียนภาษาจีน แต่ว่าการเรียนอักษรจีนก็เป็นปัญหาใหญ่ข้อหนึ่งสำหรับนักเรียนต่างชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่ไม่ได้ใช้กลุ่มภาษาจีนทิเบต และการสอนตัวอักษรจีนนี้ ก็ยังเป็นปัญหาอย่างหนึ่งของครูผู้สอนเช่นกัน ดังนั้น วิธีการสอนตัวอักษรจีนจึงเป็นประเด็นที่ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการหลายคนได้ทำการศึกษาปัญหานี้ตลอดมา ซึ่งก็เหมือนกับนักเรียนต่างชาติ ที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มภาษาจีนทิเบต ดังเช่น นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาจำนวนมาก มักจะเขียนลำดับอักษรจีนไม่ถูกต้อง เพราะว่านักศึกษานั้นยังไม่เข้าใจกฎการเขียนตัวอักษรจีน เพียงแต่เขียนไปตามความคิดของตัวเอง ดังนั้น เพื่อต้องการให้การสอนภาษาจีนมีการพัฒนายิ่งขึ้น จึงได้หาวิธีการเขียนลำดับขีดที่เหมาะสม ผู้เขียนจึงทำการสำรวจนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โปรแกรมวิชาภาษาจีน ชั้นปีที่ 1 จำนวน 40 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์และทำแบบทดสอบ ซึ่งได้นำผลแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมาเปรียบเทียบ และสรุปถึงข้อผิดพลาด วิเคราะห์และหาสาเหตุของข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น และเสนอแนะวิธีการสอนให้มีการพัฒนาและยกระดับการเรียนของนักศึกษาให้สูงขึ้น ซึ่งหวังว่าการศึกษาในครั้งนี้จะช่วยพัฒนาด้านการสอนตัวอักษรจีนของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ให้ดียิ่งขึ้น Chinese characters in the story of the Chinese language. The Chinese are a dominant feature. With a unified voice, meaning and form in the same. The characters that conveys meaning. Learning Chinese is a fundamental aspect of learning Chinese. But learning Chinese characters, it is big problem for the students. In particular, students who did not use the Chinese Tibet. And the teaching of Chinese. It is a problem with the teachers as well. So, how to teach Chinese characters, it is an issue that many experts and scholars have studied this problem all along. This is just like the other students. Those do not exist in Chinese Tibet. Many High School Students Sequences are usually written in Chinese characters correctly. For students that do not understand the rules for writing Chinese characters. Just write down the ideas themselves. Therefore, in order to let the Chinese have improved. It is a way to write a proper stroke. The authors therefore conducted high school students the Chinese year 1 of 40 patients by means of interviews and tests. This is the test results before and afetr comparison. And a summary of the errors analyze and determine the cause of the error that occured. And suggested teaching methods to develop and enhance the students' performance. We hope our study will help develop teaching Chinese characters of this univeristy better. 汉字是记录汉语言的文字,它集音、意、形于一体,属于表意文字的词素音节文字。汉字学习是汉语学习的基础,然而汉字历来是外国学生,尤其是非汉藏语系的外国学生,学习汉语的难点之一,也是汉语教师进行教学的难题之一。汉字教学因此是许多专家学者一直在探讨的问题。 同其他非汉藏语系的外国学生一样,泰国呵叻皇家大学的很多学生常常将汉字笔顺写错,因为学生不理解汉字的书写规则,只是按照自己的想法随意去写。为了进一步改善汉字教学,寻找合适的教授汉字笔顺的方法,笔者以泰国呵叻皇家大学汉语专业一年级的 40 名学生为调查对象,采用问卷调查和访谈调查的方法,通过前测与后测综合数据对比总结被试学生汉字书写的偏误规律,分析了其偏误产生的原因,并在此基础上提出了相应的改进汉字教学的方法,希望本次研究对该校的汉字教学有所帮助。 |
Description: | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2014 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/897 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
JINTANA-YAEMLAMUN.pdf Restricted Access | 2.01 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.