Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/946
Title: | 大城府Jirasartwitthaya学校小学三年级学生汉字笔顺教学探析 |
Other Titles: | การสำรวจการเรียนการสอนลำดับขีดตัวอักษรจีนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจิระศาสตร์วิทยาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา An Analysis of Grade Three Stroke Teaching in Chinese Characters in Jirasartwitthaya School in Ayutthaya |
Authors: | 熊柱 Xiong, Zhu 董宁 Dong, Ning |
Keywords: | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) Chinese language -- Study and teaching (Primary) 汉语 -- 学习和教学 (小学) ภาษาจีน -- การเขียน Chinese language -- Writing 汉语 -- 写作 ตัวอักษรจีน Chinese characters 汉字 |
Issue Date: | 2018 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | 汉语教学在泰国的大力推广的这些年, 各大, 中, 小学的汉语教学开展得有声有色, 放眼目前泰国的汉语教学, 我们虽然能随处可见各种中国元素, 也能看到各类丰富多彩的汉语教学活动, 但很多中小学汉语教学却着实遇到一个很大瓶颈----汉字教学长期处于滞后状态. 汉语的听说容易书写难, 很多学校对汉字的教学还没有一个具体的教学大纲, 不知道怎么开始教汉字, 写汉字. 汉字书写的教学是一件不急于求成的教学活动, 需要从笔顺的练习开始, 需要教师按部就班的一步步跟进, 需要学生在长期的积累和练习中慢慢熟练. 本文将结合目前泰国普通小学三年级汉语教学的实际, 对有一定汉语基础的初级阶段学习者学习笔顺的实际情况做跟踪调查分析. 从教师的笔顺教学设计, 笔顺测试设计, 学生的笔顺测试情况分析以及学生学习笔顺兴趣度问卷分析等几个角度探查学生学习笔顺的情况, 以此为依据归纳出适用的教学策略, 同时总结出教材中学生需掌握笔顺的汉字常用字表, 填补教材在强调汉字笔顺教学板块薄弱的地方, 给教材的使用者在汉字笔顺方面的学习和教学提出一个参考大纲, 进一步补充完善这本教材在使用过程中的书写功能. ในช่วงปีที่ผ่านมาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนได้พัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง ในทุกระดับชั้นตั้งแต่ประถม มัธยม และมหาวิทยาลัยได้มีการจัดการเรียนการสอนในทุกรูปแบบ ในขณะที่การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของประเทศไทยในปัจจุบัน ถึงแม้ว่าจะพบการสอนภาษาจีนในหลากหลายรูปแบบ และมีกิจกรรมมากมายที่สามารถเรียนรู้ภาษาจีนได้อย่างดี แต่ว่าการเรียนการสอนภาษาจีนในโรงเรียนระดับประถมและมัธยมได้พบปัญหาอุปสรรคในการสอนภาษาจีนที่ถือได้ว่าเป็นปัญหาใหญ่ การเรียนการสอนตัวอักษรจีนมีความล้ำหลัง ภาษาจีนได้ด้านการฟังและด้านการพูดค่อนข้างง่าย ส่วนด้านการเขียนค่อนข้างยาก ยังมีหลายโรงเรียนที่ไม่มีโครงสร้างหลักสูตรในการจัดการเรียนการสอนตัวอักษรจีน ไม่ทราบวิธีในการสอนตัวอักษรจีน การเขียนลำดับขีดภาษาจีน การเรียนการสอนเขียนตัวอักษรจีนนั้นเป็นกิจกรรมการสอนที่ต้องมีลำดับขั้นตอน เริ่มจากการเรียนรู้ลำดับขีดจำเป็นต้องให้ครูผู้สอนอธิบายไปทีละขั้นตอน และนักเรียนจะต้องฝึกฝนและเรียนรู้สะสมความรู้ความเข้าใจขีดลำดับของตัวอักษรจีน ผู้วิจัยได้รวบรวมการเรียนการสอนภาษาจีนของนักเรียนระดับประถมศึกษาในยุคปัจจุบัน โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนประถมศึกษาปีที่สามที่มีภาษาจีนระดับพื้นฐาน โดยผู้วิจัยทำการสำรวจและติดตามพร้อมทั้งวิเคราะห์ เริ่มจากการออกแบบการเรียนการสอนลำดับขีดภาษาจีน ออกแบบการทดสอบลำดับขีดภาษาจีน วิเคราะห์การทดสอบลำดับขีดภาษาจีนของนักเรียนและทำแบบสอบถามความสนใจของนักเรียนในการเรียนการสอนลำดับขีดภาษาจีน รวมทั้งสำรวจกระบวนการจัดการเรียนการสอนลำดับขีดภาษาจีน และเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนลำดับขีด โดยวิเคราะห์จากการเรียนลำดับขีดภาษาจีนของนักเรียนและผลการสะท้อนการจัดการเรียนการสอนของนักเรียน ในขณะเดียวกันผู้วิจัยได้สรุปตารางของลำดับขีดตัวอักษรที่ใช้บ่อยในเอกสารประกอบการเรียน เพิ่มเสริมเนื้อหาที่บกพร่องในการจัดการเรียนการสอนลำดับขีดตัวอักษรจีน เพื่อให้ผู้เรียนภาษาจีนได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมและผู้สอนได้นำเป็นเอกสารเสริมในการสอนลำดับขีดของตัวอักษรจีน อีกทั้งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนลำดับขีดตัวอักษรจีนให้สมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น In the past few years, Chinese language teaching in schools and universities has been strongly promoted in Thailand. Whilst understanding of the verbal conponent of Chinese language has increased significantly, the teaching of Chinese characters has been less successful. Many schools do not have a specific teaching curriculum for Chinese characters and so teachers do not have any directions to follow. To successfully teach students to write requires extra commitment to teaching the strokes that form Chinese characters. This is the foundation of Chinese written language. This article descibes the current situation for stroke learners in Thailand. It discussess different perspectives on the design of the teaching curriculum, including testing of stroke order, analysis of stroke and questionnaires for students to understand their level of interest in the subject. The article then proposes appropriate additions to the current syllabus based upon the feedback upon the feedbaack of teachers and students. A key conclusion is that the current textbooks do not provide sufficient detail for students to master their stroke technique and hence their formation of characters. |
Description: | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2018 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/946 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
DONG-NING.pdf Restricted Access | 4.57 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.