DSpace Repository

การวัดทุนมนุษย์ความรู้ท้องถิ่นในคนรุ่นใหม่: กรณีศึกษาการวัดทุนมนุษย์ความรู้ท้องถิ่น เรื่องผักพื้นบ้าน

Show simple item record

dc.contributor.author ลั่นทม จอนจวบทรง
dc.contributor.author ณธภร ธรรมบุญวริศ
dc.contributor.author กิตติ เลิศกมลรักษ์
dc.contributor.author Lanthom Jonjuabtong
dc.contributor.author Nataporn Thammabunwarit
dc.contributor.author Kitti Lertamolruk
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
dc.date.accessioned 2024-01-03T14:14:58Z
dc.date.available 2024-01-03T14:14:58Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.citation วารสาร ธุรกิจปริทัศน์ 8,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) : 145-164 th
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1569
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/125593/95111
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาถึงคุณลักษณะและชนิดของทุนมนุษย์ เพื่อให้เห็นวิธีการสร้างทุนมนุษย์ และนำมาออกแบบเครื่องมือในการวัดทุนมนุษย์ โดยมุ่งเน้นที่ทุนมนุษย์ความรู้ท้องถิ่น ในคนรุ่นใหม่ ที่มีความแตกต่างจากการสร้างและการวัดทุนมนุษย์ในบริบทขององค์กรผ่านกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การออกแบบเครื่องมือวัดทุนมนุษย์ความรู้ท้องถิ่น เรื่องผักพื้นบ้านสำหรับคนรุ่นใหม่ ได้เครื่องมือการวัดทุนมนุษย์ฯ ประกอบด้วยแบบสอบถาม 2 ชุด (สำหรับนักเรียนและผู้ปกครอง) แบบสำรวจทรัพยากรการเรียนรู้ และบทสัมภาษณ์ผู้ปกครองและผู้ถ่ายทอดความรู้บทความชิ้นนี้จะนำเสนอผลการทดสอบในการใช้แบบสอบถามการวัดทุนมนุษย์ฯ และระดับทุนมนุษย์ ความรู้ท้องถิ่น เรื่องผักพื้นบ้านของคนรุ่นใหม่วัยเด็กระดับประถมศึกษาตอนปลาย ในเขตตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่เป็นป่ารอยต่อ 5 จังหวัดของภาคตะวันออกของประเทศไทยที่มีการส่งเสริมเรื่องการปลูกผักพื้นบ้าน ทั้งก่อนการเข้าร่วมกิจกรรม และหลังการเข้าร่วมกิจกรรมสร้างทุนมนุษย์ฯ ผลการศึกษาพบว่าคนรุ่นใหม่ในเขตดังกล่าวมีทุนมนุษย์ฯ ระดับปานกลางก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมฯ และมีทุนมนุษย์ฯ เพิ่มขึ้นเป็นระดับมากหลังการเข้าร่วมกิจกรรมฯ เป็นระยะเวลา 1 ปีการศึกษา โดยคะแนนทุนมนุษย์เฉลี่ยก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมฯ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ One-way ANOVA ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 โดยที่นักเรียนหญิงมีระดับทุนมนุษย์ฯ สูงกว่านักเรียนชาย และนักเรียนที่ผู้ปกครองเป็นสมาชิกกลุ่ม เกษตรอินทรีย์อำเภอสนามชัยเขตมีระดับทุนมนุษย์ฯ สูงกว่านักเรียนที่ผู้ปกครองไม่ได้เป็นสมาชิกกลุ่มดังกล่าว แต่คะแนนทุนมนุษย์เฉลี่ยไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อมีการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ One-way ANOVA ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 th
dc.language.iso th th
dc.subject ทุนมนุษย์ th
dc.subject Human capital th
dc.subject ผักพื้นบ้าน th
dc.subject Indigenous vegetables th
dc.subject ภูมิปัญญาชาวบ้าน th
dc.subject Local wisdom th
dc.title การวัดทุนมนุษย์ความรู้ท้องถิ่นในคนรุ่นใหม่: กรณีศึกษาการวัดทุนมนุษย์ความรู้ท้องถิ่น เรื่องผักพื้นบ้าน th
dc.title.alternative The Measurement of Human Capital in the Area of Indigenous Knowledge for the young generation: The Case Study of Indigenous Knowledge on Indigenous Vegetables th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account