DSpace Repository

การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ (ฉบับปรับปรุง) พุทธศักราช 2560

Show simple item record

dc.contributor.author สุทธสร ศรีวิภากุล
dc.contributor.author ธนดล จิรสันติวงศ์
dc.contributor.author ไพศาล ทองสัมฤทธิ์
dc.contributor.author มนัสนันท์ ฉัตรเวชศิริ
dc.contributor.author Tanadon Jirasantiwong
dc.contributor.author Phaisan Thongsamrit
dc.contributor.author Manatsanan Chatwechsiri
dc.contributor.author 黄佛明
dc.contributor.author 谢业辉
dc.contributor.author Suttasorn Srivipakul
dc.contributor.author 陈慕贤
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies th
dc.date.accessioned 2024-05-05T13:22:35Z
dc.date.available 2024-05-05T13:22:35Z
dc.date.issued 2022
dc.identifier.citation วารสารวิชาการ ภาษาและวัฒนธรรมจีน 9,1 (มกราคม-มิถุนายน 2565) : 299-318 th
dc.identifier.issn 2801-9805 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2154
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so02.tci-thaijo.org/index.php/clcjn/article/view/254723/172413 th
dc.description.abstract การวิจัยประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2560 วิจัย ตามแบบจําลอง CIPP Model โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อวิเคราะห์หลักสูตรและประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาหลักสูตรในบริบท (Context) ได้แก่ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร โครงสร้างและเนื้อหาของหลักสูตร 2) เพื่อประเมินปัจจัยนําเข้าของหลักสูตร (Input) ได้แก่ อาจารย์ผู้สอน นักศึกษา และปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน 3) เพื่อประเมินกระบวนการบริหารหลักสูตร และการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร(Process) ได้แก่ กิจกรรมการเรียนการสอนการวัดและประเมินผลการเรียน 4) เพื่อประเมินผลลัพธ์ของหลักสูตร (Product) ได้แก่ คุณภาพของบัณฑิตประชากรของการวิจัยประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ หลักสูตรปรับปรุงพุทธศักราช 2560 ประกอบด้วยอาจารย์ประจําหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนรายวิชาในหลักสูตรศิลป ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ จํานวน 10 คน บัณฑิตปีการศึกษา 2562 จํานวน 41 คน นักศึกษาชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 3 ในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ จํานวน 191 คน และผู้ใช้บัณฑิต จํานวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลคือ แบบสอบถามความคิดเห็นของอาจารย์ประจําหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนแบบสอบถามความคิดเห็นของบัณฑิต แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา และแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต ผลการการวิจัย 1. ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตใน 6 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะวิชาชีพ มีความคิดเห็นเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีความเห็นว่าจุดเด่นของบัณฑิต ได้แก่ มีจิตอาสา ตั้งใจทํางานด้วยความเต็มใจ แสวงหาความรู้ใหม่ด้านภาษาจีนธุรกิจ มีความ รอบรู้ ด้านภาษาจีนธุรกิจ อ่อนน้อมถ่อมตน ขยันขันแข็ง และแสวงหาความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน จุดที่ควรพัฒนา คือ ทักษะคอมพิวเตอร์ยังต้องพัฒนาให้มากกว่าที่เป็นต้องเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับภาษาจีนในวิชาชีพ ต้องฝึกทักษะการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ Covid-19 เช่น โปรแกรม Microsoft Teams, ZOOM , Google Meet , Webex เป็นต้น 2. ผลการประเมินความคิดเห็นหรือพึงพอใจของบัณฑิตต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาของหลักสูตรประกอบด้วยรายวิชาเอกบังคับและเอกเลือก มีความคิดเห็นเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดและมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาศึกษาทั่วไปอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีข้อคิดเห็นที่ควรปรับปรุงเนื้อหาในบางรายวิชาให้มีความทันสมัย ควรเพิ่มรายวิชาที่เน้นในแต่ละสาขาอาชีพ และควรมีโครงการเสริมสร้างความรู้และทักษะด้านการทํางานที่จําเป็นให้แก่นักศึกษา ควรเพิ่มเติมรายวิชาที่สามารถนําไปใช้ทํางานได้จริง เช่น ภาษาจีนในสํานักงาน และให้ความสําคัญกับรายวิชาสหกิจศึกษามากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับการทํางานจริง ควรมีรายวิชาที่ตามสมัยนิยม เช่น เศรษฐกิจดิจิทัลจะช่วยให้ก้าวทันโลกยุคปัจจุบันอยากให้มีตัดรายวิชาแกนภาษาอังกฤษออกจากหลักสูตร อยากให้มีตัดรายวิชาโทออกไปจากหลักสูตร เพื่อความมีประสิทธิภาพในการศึกษารายวิชาภาษาจีนธุรกิจ ควรป รับปรุงเนื้อหาบางรายวิชาให้ทันสมัย นําไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ 3. ผลการ ประเมินความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอน ต่อการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตมีค่าเฉลี่ ยโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีความคิดเห็นควรมีการปรับปรุงเนื้อหาในบางรายวิชาให้มีความทันสมัยเพิ่มมากขึ้น ควรมีการ เพิ่มหรือตัดทอนบางรายวิชา เพื่อความเหมาะสมในการเรียนการสอนยิ่งขึ้น ควรมีการเพิ่มรายวิชาด้านธุรกิจให้มากขึ้น เพื่อรองรับตลาดการค้าในปัจจุบัน ควรเพิ่มรายวิชาด้านเศรษฐกิจที่เหมาะสมกับยุคปัจจุบัน เช่น เศรษฐกิจดิจิทัล 4. ผลการประเมิน ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนรายวิชาในหลักสูตร ประกอบด้วยรายวิชาเอกบังคับและเอกเลือก มีความคิดเห็นเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความคิดเห็ นต่อการจัด การเรียนการสอนในรายวิชาศึกษาทั่วไป อยู่ในระดับมาก โดยมีความคิดเห็นควรมีการเพิ่มหรือตัดทอนบางรายวิชาเพื่อความเหมาะสมในการเรียนการสอนยิ่งขึ้น ควรเพิ่ มรา ยวิชาทางด้านวิชาชีพ ควรตัดทอนรายวิชาโท ควรตัดทอนรายวิชาแกนภาษาอังกฤษ th
dc.description.abstract The Curriculum Evaluation on Bachelor of Arts (Business Chinese) aimed to Revised Curriculum Academic Year 2017 research as CIPP Model and aimed to 1) analyze curriculum and quality of curriculum implementation in term of the contexts: the objective, structure, and content of the curriculum, 2) evaluate the input: lecturers, students, and learning support, 3) evaluate the process of the curriculum administration and teaching & learning management including teaching and learning activities, assessment & evaluation of learning, 4) evaluate the outcome: quality of the graduated students. The population of the curriculum evaluation on Bachelor of Arts Program: Business Chinese revised curriculum, year 2017 consists the 10 of the curriculum Instructors Information and the lecturers in Bachelor of Arts Program: Business Chinese, 41 graduated students of the program in academic year 2019, 41 existing students with normal status, and 40 graduated students’ employers. The data collection tools are consisted by Lecturers’ Opinion Survey, Graduated students’ Opinion Survey, Students’ Opinion Survey and Graduated Students’ employers’ Opinion Survey. Research Result: 1. The satisfaction evaluation result of employers divided into 6 areas: ethics and morals, knowledge, cognitive skills, interpersonal skills and responsibility, numerical analysis, communication, and Information technology skills (ICT), and professional skills. In overall the statistics of the employers was at the highest level. The outstanding characteristics of the graduates were volunteer, willingness to work, seeking new knowledge in Business Chinese, knowledgeable of Business Chinese, gentle, diligent, and seek career advancement. There is some skill that the graduated students should be improved are computer skills, increase more knowledge of Chinese for careers and improve more about the computer programs due to the pandemic Covid-19 situation such as Microsoft Teams, ZOOM, Google Meet, Webex, etc.2. The satisfaction evaluation result of the graduated students towards teaching management in the curriculum consists of Major Required Courses and Elective Subjects has the highest overall average and the opinions on teaching and learning management in General subjects was highest level which there are the recommendation to revise the contents to be more modern and should add courses that focus on each career field for more appropriate on teaching and learning. The faculty should set a program to enhance the knowledge and working skills for students. The curriculum should add more subjects which learner is able to use in their working life, such as Chinese in the office, be more focus on the Education Cooperative and to comply with working the curriculum should have more modern subjects such as Digital Economics. Some subject as General Education subjects (English) and Minor subjects should be eliminated for efficiency of s tudying in Business Chinese subjects.3. The satisfaction evaluation result of lecturers towards the teaching and learning management of the curriculum was at the highest-level overall average which there are the opinions to revise some content in some subject to be more modern, some the subject should be shorten for the appropriateness of teaching and learning. The subjects about the business should be added for preparing the labors to support the trading market in this presents. The Economic courses should be added that are suitable for the current era, such as Digital Economy.4. The satisfaction evaluation result of students towards the teaching and learning management of the curriculum consists of Major Required Courses and Elective Subjects was at the highest-level overall average and has the opinion for the teaching and learning management of the General Education subjects in high-level and has the opinion that some subject such as Minor subject and General Education subject (English) should be shorten for the appropriateness of teaching and learning. The Professional courses should be added th
dc.language.iso th th
dc.subject การประเมินหลักสูตร th
dc.subject Curriculum evaluation th
dc.subject ภาษาจีนธุรกิจ -- หลักสูตร th
dc.subject Chinese language -- Business Chinese -- Curricula th
dc.subject ภาษาจีนธุรกิจ -- การศึกษาและการสอน th
dc.subject Chinese language -- Business Chinese -- Study and teaching th
dc.title การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ (ฉบับปรับปรุง) พุทธศักราช 2560 th
dc.title.alternative The Curriculum Evaluation on Bachelor of Arts Program in Business Chinese (Revised Curriculum, 2017) th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account