DSpace Repository

การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน (สําหรับหลักสูตรปรับปรุงปีพุทธศักราช 2560)

Show simple item record

dc.contributor.author ธันฐกรณ์ สังขพิพัฒธนกุล
dc.contributor.author รัตนา จันทรสารโสภณ
dc.contributor.author เบญจวรรณ ศิริคันธรส
dc.contributor.author เทพี แซ่มัด
dc.contributor.author กิติกา กรชาลกุล
dc.contributor.author Thantakron Sangkapipattanakul
dc.contributor.author Ratana Jantarasarsophon
dc.contributor.author Benjawan Siricantarot
dc.contributor.author Thephi Saemat
dc.contributor.author Kitika Karachalkul
dc.contributor.author 杨光宝
dc.contributor.author 黄友华
dc.contributor.author 罗玉香
dc.contributor.author 麦春梅
dc.contributor.author 王燕琛
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies th
dc.date.accessioned 2024-05-05T13:36:46Z
dc.date.available 2024-05-05T13:36:46Z
dc.date.issued 2022
dc.identifier.citation วารสารวิชาการ ภาษาและวัฒนธรรมจีน 9,1 (มกราคม-มิถุนายน 2565) : 333-347 th
dc.identifier.issn 2801-9805 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2155
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so02.tci-thaijo.org/index.php/clcjn/article/view/255206/172415 th
dc.description.abstract หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน ได้ทําการวิจัยประเมินหลักสูตรโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาและวัฒนธรรมจีนในด้านบริบทของหลักสูตรด้านปัจจัยนําเข้า ด้านกระบวนการผลิตและด้านผลลัพธ์ของหลักสูตรกลุ่มตัวอย่างในการให้ข้อมูลจํานวน 128 คน ประกอบ ด้วยกลุ่ม อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจํานวน 5คน กลุ่มนักศึกษาชั้นปีที่ 3 และปีที่ 4จํานวน 114 คน กลุ่มบัณฑิตจํานวน 46 คน และกลุ่มผู้ใช้บัณฑิตจํานวน 37คนโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแล้วนําผลที่ได้มาทําการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยโดยผลจากการประเมินหลักสูตรในครั้งนี้แบ่งเป็น1.ด้านบริบท พบว่า วัตถุประสงค์โครงสร้างหลักสูตรและจํานวนหน่วยกิตของแต่ละหมวดรายวิชา รวมถึงเนื้อหารายวิชาของหลักสูตรทั้งหมวดรายวิชาเอกบังคับและหมวดรายวิชาเอกเลือกมีความเหมาะสม เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน2.ด้านปั จจัยนําเข้า (1)คุณลักษณะของผู้สอนพบว่า ในเรื่อง คุณวุฒิและประสบการณ์ของอาจารย์ผู้สอนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด (2)คุณลักษณะของนักศึกษาและการสอบคัดเลือกอาจารย์คณะภาษาและวัฒนธรรมจีนมีส่วนร่วมในการสัมภาษณ์คัดเลือกนักศึกษาโดยนักศึกษาที่มีพื้นฐานภาษาจีนจะได้รับการยกเว้น การเรียน รายวิชาพื้นฐานบางรายวิชา(3)ปัจจัยสนับสนุนการเรียนรู้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีความพึงพอใจด้านห้องเรียนมีอุปกรณ์เหมาะสม อยู่ในระดับปานกลาง นักศึกษามีความพึงพอใจในเรื่องระบบบริการห้องสมุดในระดับปานกลาง ส่วนบัณฑิตมีความพึงพอใจในเรื่องระบบบริการห้องสมุดเหมาะสมในระดับมากที่สุด3.ด้านกระบวนการผลิต(1)การบริหารหลักสูตรพบว่า ความพึงพอใจด้านการบริหารหลักสูตรในทุกด้านเฉลี่ยอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด(2)การจัดการเรียนการสอนพบว่า อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ นักศึกษามีความพึงพอใจด้านการจัดการเรียนการสอนมีค่า เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก สําหรับ บัณฑิตมีความพึงพอใจด้านการจัดการเรียนการสอนเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด(3)ด้านการวัดและการประเมินผลอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรนักศึกษาและบัณฑิต มีความพึงพอใจด้านการวัดและประเมินผลเฉลี่ยอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด4.ด้านผลลัพธ์ของหลักสูตร (1)คุณลักษณะบัณฑิตตามวัตถุประสงค์ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและนักศึกษามีความพึงพอใจทักษะด้านการใช้ภาษา ทักษะด้านการพูด ทักษะด้านการฟัง-อ่าน ทักษะด้านการเขียน เฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนบัณฑิตและผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจในทักษะทางภาษาอยู่ในระดับมากที่สุด (2)คุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน TQFพบว่า กลุ่มผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดในทั้ง 5 ด้าน th
dc.description.abstract The purpose of this study was to evaluate the Chinese Language and Culture Major Curriculum (Revised Edition, Academic Year 2017). The evaluation focused on 4 aspects including the objectives of the curriculum, the structure and content of the curriculum, the curriculum management, and the characteristics of the graduates. There were 128 participants in this study; 5 instructors, 114 students in the third-year and fourth-year groups, 46 graduates, and 37 employers. Data Analysis was based on questionnaires. The data was analyzed in terms of frequency, percentage, and the differences of mean groups. The results of this research were as follows; Input: This section was divided into 3 parts;1)Qualification of the program instructors. It was found that the instructors were satisfied with the qualifications and experience of the program instructors which was rated with the highest average scores. The students were satisfied with this aspect which was rated with the high average scores. The graduates were satisfied with the instructors’ qualifications and the courses they were assigned to teach which were rated with the highest average scores. 2) Characteristics of the students and admission system. All of the instructors took part in the admission process to interview the new students of the program. 3) Educational equipment The instructors were satisfied with the well-equipped classrooms which were rated with the high average scores. The students and graduates were satisfied with HCU Library Information Section which was rated with the highest average scores. Process: This section was divided into 3 parts. 1)Curriculum Management The students and the graduates were satisfied with the curriculum management which was rated with the high and the highest average scores respectively 2)Teaching and Learning Process. The instructors and students were satisfied with the teaching and learning process. Furthermore, the instructors and students were satisfied with the use of teaching materials with the teaching and learning process which was rated with the highest average scores.3)Evaluation Methods.The instructors and students were satisfied with the evaluation methods which were precise and systematic and were rated with the high average scores and the highest average scores. Learning Outcome Standards1) The Characteristics of the Graduates The instructors and students were satisfied with the language skills in terms of the use of language, speaking, listening, reading and writing skills which was rated with the moderate average scores, whereas the graduates were satisfied with their language skills and the employers were also satisfied with the graduates’ language skills which were rated with the highest average scores.2) The characteristics of the Graduates in accordance with Thailand qualification Framework (TQF)The employers were satisfied with the five aspects of learning outcome standards. th
dc.language.iso th th
dc.subject การประเมินหลักสูตร th
dc.subject Curriculum evaluation th
dc.subject ภาษาจีน -- หลักสูตร th
dc.subject Chinese language -- Curricula th
dc.subject ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน th
dc.subject Chinese language -- Study and teaching th
dc.title การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน (สําหรับหลักสูตรปรับปรุงปีพุทธศักราช 2560) th
dc.title.alternative The Evaluation of Chinese Language and Culture Major Curriculum (Revised Edition 2012): Bachelor’s Degree Program, Huachiew Chalermprakiet University th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account