dc.contributor.author |
ผ่องพรรณ ทวีเลิศทรัพย์ |
|
dc.contributor.author |
จันทิมา จิรชูสกุล |
|
dc.contributor.author |
มนัสนันท์ ฉัตรเวชศิริ |
|
dc.contributor.author |
Phongpan Taveelertsub |
|
dc.contributor.author |
Chanthima Chirachoosakul |
|
dc.contributor.author |
Manatsanan Chatwechsiri |
|
dc.contributor.author |
周美华 |
|
dc.contributor.author |
蔡彩凤 |
|
dc.contributor.other |
Sripatum University. School of Liberal Arts |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies |
th |
dc.date.accessioned |
2024-05-05T14:14:15Z |
|
dc.date.available |
2024-05-05T14:14:15Z |
|
dc.date.issued |
2022 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารวิชาการ ภาษาและวัฒนธรรมจีน 9,1 (มกราคม-มิถุนายน 2565) : 213-229 |
th |
dc.identifier.issn |
2801-9805 (Online) |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2157 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/clcjn/article/view/255462/172408 |
th |
dc.description.abstract |
การศึกษาในยุคความปกติใหม่ (New Normal) เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ทําให้เกิดการปรับตัวทางด้านการเรียนการสอน แอปพลิเคชันจึงเป็นสิ่งจําเป็นที่มีส่วนช่วย ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาทางด้านสื่อหรือนวัตกรรมด้านการเรียนการสอนการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การใช้ประโยชน์จากแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนที่ช่วยในการพัฒนาทักษะส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาจีน และ (2) ความพึงพอใจต่อการใช้แอปพลิเคชัน ติ๊กตอก (Tiktok) เฟซ บุ๊ก (Facebook) ยูทูบ (Youtube) และอินสตาแกรม (Instagram)ในการพัฒนาทักษะและส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาจีนงานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยพื้นฐานเชิงปริมาณ ผู้วิจัยทําการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามออนไลน์ (Google Forms) ซึ่งกลุ่มตัวอย่างคือผู้เรียนภาษาจีนทั่วไป จํานวน 105 คน ผลการวิจัยพบว่า แอปพลิเคชันยูทูบ เป็นแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนในการพัฒนาทักษะและส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาจีนในการฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เรียนรู้บทสนทนาภาษาจีน มากที่สุด แอปพลิเคชันเฟซบุ๊กเป็นแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนที่ใช้เรียนรู้คําศัพท์ภาษาจีน มากที่สุด สําหรับหัวข้อคําศัพท์ภาษาจีน บทสนทนาภาษาจีนพื้นฐานหรือคําศัพท์ บทสนทนาทั่วไปที่ใช้ในชีวิตประจําวัน เป็นหัวข้อที่ผู้เรียนภาษาจีนทั่วไปเรียนรู้จาก แอปพลิเคชันติ๊กตอก เฟซบุ๊ก ยูทูบ และอินสตาแกรม เหตุผลที่ผู้เรียนภาษาจีนทั่วไปติดตาม แอปพลิเคชันติ๊กตอก เฟซบุ๊ก ยูทูบ และอินสตาแกรม คือมีเนื้อหาสั้น กระชับ เข้าใจง่าย ทันต่อเหตุการณ์และนําไปใช้ได้จริง นอกจากนี้ในงานวิจัยยังพบว่าผู้เรียนทั่วไปที่ศึกษาภาษาจีนมีความพึงพอใจจากการใช้แอปพลิเคชันติ๊กตอก เฟซบุ๊ก ยูทูบ และอินสตาแกรมบนสมาร์ทโฟนในการพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาจีนโดยรวมอยู่ในระดับมาก ที่ค่าเฉลี่ย 4.32 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์สมมติฐานที่ตั้งไว้ เนื่องจากแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนสามารถช่วยในการพัฒนาทักษะภาษาจีนทั้ง 4 ด้านและช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ภาษ าจีนนอกห้องเรียน ประเภทเนื้อหาบนติ๊กตอก เฟซบุ๊ก ยูทูบ และอินสตาแกรมตรงตามความสนใจของผู้เรียนภาษาจีนด้วยตนเองหรือเน้นเรียนเสริมความรู้นอกห้องเรียน อีกทั้งครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษาและผู้สนใจเรียนรู้ภาษาจีนสามารถเลือกใช้แอปพลิเคชันที่เหมาะสมกับการพัฒนาทักษะแต่ละด้าน |
th |
dc.description.abstract |
Education in the New Normal era due to the COVID-19 situation requires adjustment. Applications are therefore necessary to assist not only the development of media or innovation in teaching and learning, but also the organization of work systems in various fields such as documents.The objectives of this research were to study (1) the utilization of smartphone applications that enhanced learning skills development and promoted Chinese language learning and (2) the satisfaction of users of applications, namely Tiktok, Facebook, Youtube and Instagram to develop skills and promote learning Chinese.This is a quantitative research study. The research data were collected from an online questionnaire (Google Forms), in which the sample group consisted of 105 learners who were taking Chinese. This research found that Youtube was used the most to enhance Chinese language learning and the four language skills, namely listening, speaking, reading and writing, and learning Chinese conversations. Besides, Facebook was the most used application to learn Chinese vocabulary, and Chinese vocabulary topics, basic Chinese conversation or vocabulary. Basic conversation in daily life was the topic which was learned through the use of Tik Tok, Facebook, Youtube and Instagram applications. It was because they conveyed short, concise, easy, up-to-date and practical messages. Moreover, the research revealed that learners of Chinese were satisfied at a high level at the average of 4.32 with the use of Tik Tok, Facebook, Youtube and Instagram on smartphones. It was because these applications helped to develop and enhance learners’ Chinese language skills. The findings were also in line with the hypothesis of this research. It was believed that these applications on smartphones could help learners to improve their Chinese language in four skills and enhance their Chinese language learning outside the classroom. Tik Tok, Facebook, Youtube and Instagram also met the interests of Chinese language learners who learned on their own or outside the classroom. In addition, teachers, students and people who interested in learning Chinese can choose the application that is suitable for develop each skill. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.subject |
โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
th |
dc.subject |
Mobile apps |
th |
dc.subject |
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน |
th |
dc.subject |
Chinese language -- Study and teaching. |
th |
dc.title |
การศึกษาการใช้ประโยชน์จากแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนสำหรับช่วยในการพัฒนาทักษะและส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาจีนของผู้เรียนภาษาจีน |
th |
dc.title.alternative |
A Study on the Utilization of Smartphone Applications for Enhancing Language Development and Promoting Chinese Language Learner |
th |
dc.type |
Article |
th |