本论文是华侨崇圣大学的校级科研课题的研究成果。课题致力于研究泰华文学的历史与现状。关于泰华文学的历史部分,论文分为三个阶段来详细描述了一百余年的发展变化,分析了二十世纪八十年代以来当代泰华文坛的文学派别、文学社团以及丰硕的创作成就及其国际交流与影响。目前,泰华文学的创作主力正向操华语母语的新移民群体转移,新移民文学是泰华文坛值得重视的新趋势
บทความวิจัยนี้เป็นบทความที่มาจากงานวิจัยทุนของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติโดยมุ่งเน้นศึกษาประวัติและสภาพปัจจุบันของวรรณกรรมจีนในประเทศไทยในส่วนของ ประวัติของวรรณกรรมจีนในประเทศไทยนั้นได้อธิบายเป็น 3 ช่วงโดยอธิบาย ถึง การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการในร้อยกว่าปี ที่แล้วมาวิเคราะห์การแบ่งกลุ่มวรรณกรรมใน แวด วงวรรณกรรมจีนปัจจุบันช่วงยุคปี 80 ในประเทศไทยชมรมวรรณกรรมผลกระทบและ การแลกเปลี่ยนผลงานปัจจุบันการสร้างผลงานวรรณกรรมจีนในประเทศไทยเดิม มาจากผู้ที่มีภาษาจีนเป็นภาษาแม่เป็นหลัก และได้ เปลี่ยนเป็นกลุ่มคนจีนที่อพยพเข้ามาใหม่ซึ่ง วรรณกรรมของกลุ่มใหม่นี้ถือเป็นแนวโน้มใหม่ของวงการวรรณกรรมจีนในประเทศไทยที่ต้องให้ความสําคัญเป็นอย่างมาก
This thesis is devoted to the study of the history and current situation of Thai-Chinese literature. As for the historical part of Thai-Chinese literature, the thesis is divided into three stages, described the development and changes of Thai-Chinese literature in more than one hundred years. The paper also focuses on the literary schools and literary associations of Thai-Chinese Literature in the last forty years, as well as their fruitful creative achievements and their international exchanges and influences of contemporary Thai-Chinese Literature. In recent years, the new immigrant groups whose mother language are Chinese became the main force of Thai-Chinese literary world.