DSpace Repository

การประเมินความสามารถในการตานการเจริญเติบโตของเชื้อพลาสโมเดียม ฟาลซิพาลัม สายพันธุ์ TM267 ของสารสกัดหยาบจากมะรุม

Show simple item record

dc.contributor.author ณัฐริณี หอระตะ
dc.contributor.author ทวีพร พันธุ์พาณิชย์
dc.contributor.author อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ
dc.contributor.author สุวรรณา เสมศรี
dc.contributor.author วชิรญาย์ อธิมัง
dc.contributor.author ศราวุธ สุทธิรัตน์
dc.contributor.author วศิน เอมเอาธาน
dc.contributor.author นัฏฐา ผดุงวัฒนะโชค
dc.contributor.author กชวรรณ จันเทรมะ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ en
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ en
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ en
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ en
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ en
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ en
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ en
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ en
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ en
dc.date.accessioned 2024-05-16T05:32:25Z
dc.date.available 2024-05-16T05:32:25Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2252
dc.description Proceedings of the 5th National and International Conference on "Research to Serve Society", 26th May 2017 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 607-615. en
dc.description.abstract มาลาเรียยังคงเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สําคัญในประเทศไทย ซึ่งเชื้อมาลาเรียชนิด Plasmodium falciparum ได้ถูกพบว่ามีการดื้อต่อยาหลายชนิดที่ใช้รักษาโรคมาลาเรีย รวมถึงยาที่มีต้นกําเนิดจากพืชด้วย ได้แก่ Quinine และ artemisinin ดังนั้นการทดสอบเพื่อหาสารจากพืชชนิดอื่นๆ ที่มีความสามารถในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจึงมีความจําเป็น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบฤทธิ์ของสารสกัดหยาบ (Crude extract) จากใบ ฝัก และเมล็ดของมะรุมต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อมาลาเรียชนิด P. falciparum สายพันธุ์ TM267 ซึ่งดื้อต่อยา chloroquine ด้วยวิธีการวัด parasite lactate dehydrogenase (pLDH) จากผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่าสารสกัดหยาบจากเมล็ดมะรุมมีความสามารถในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ P. falciparum สายพันธุ์ TM267 ได้ดีที่สุด [คPา The half maximal inhibitory concentration (IC50) เท่ากับ 1.21 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร] รองลงมาคือสารสกัดหยาบจากใบมะรุม (ค่า IC50 เท่ากับ 11.07 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร) และสารสกัดหยาบจากฝักมะรุม (ค่า IC50 เท่ากับ 210.10 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร) ตามลําดับ และเมื่อนําสารสกัดหยาบจากเมล็ด ใบและฝักของมะรุมนี้ไม่ปรากฏความเป็นพิษต่อเซลล์เม็ดเลือดขาวปกติ [ค่าดัชนีความจำเพาะ (Selectivity index; SI) >2] ดังนั้นสารสกัดหยาบจากมะรุมที่มีเอทานอลเป็นตัวทําละลายมีสารที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อมาลาเรีย ทั้งนี้ยังต้องนําสารสกัดจากมะรุมโดยเฉพาะส่วนของเมล็ดมาทําการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีที่ออกฤทธิ์ เพื่อนําไปพัฒนาเป็นยาต้านมาลาเรียต่อไป en
dc.description.abstract Malaria remains an important health problem in Thailand. The main cause of infection is Plasmodium falciparum that resists to many antimalarial drugs even those obtain from plant, such as quinine and artemisinin. The finding of new effective antimalarial drugs from plants is necessary. The objective of this study is to evaluate and compared the antimalarial activity from crude extract of Moringa oleifera Lam. seed, leaft and fruit against P. falciparum strain TM267 (chloroquine-resistance strain) using parasite lactate dehydrogenase ( pLDH) assay. The result show that the ethanol extract of Moringa oleifera seeds show the highest antimalarial activity (IC50 = 1.21 mg/ml) followed by ethanol extract from Moringa oleifera leaf (IC50 = 11.07 mg/ml) and fruit (IC50 = 210.10 mg/ml), respectively. The cytotoxicity effect is determined against peripheral blood mononuclear cells (PBMCs). When all extracts were tested with PBMCs, all three crude Moringa oleifera extracts had no toxic effect with SI>2. It can be concluded that the ethanol extracts of Moringa oleifera contain antimalarial activities. Furthermore, the phytochemical of Moringa oleifera extracts especially Moringa oleifera seed must be investigated for antimalarial drug development. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject มาลาเรีย en
dc.subject Malaria en
dc.subject ยาต้านมาลาเรีย en
dc.subject Antimalarials en
dc.subject พลาสโมเดียมฟัลซิปารัม en
dc.subject Plasmodium falciparum en
dc.subject มะรุม en
dc.subject Moringa oleifera Lam. en
dc.subject สารสกัดจากพืช en
dc.subject Plant extracts en
dc.title การประเมินความสามารถในการตานการเจริญเติบโตของเชื้อพลาสโมเดียม ฟาลซิพาลัม สายพันธุ์ TM267 ของสารสกัดหยาบจากมะรุม en
dc.title.alternative Evaluation of Anti-Malarial Activity of Moringa oleifera Lam. Crude Extract Against Plasmodium falciparum TM267 en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account