DSpace Repository

ความถี่ของจีโนไทป์ HPA-1 ถึง HPA-11, HPA-13, -14, -15 และ HPA-17 ในผู้บริจาคโลหิตคนไทย

Show simple item record

dc.contributor.author ธานน อินอรวงศ์สกุล
dc.contributor.author ชาย ฤกษ์ชัย
dc.contributor.author อรรถพล ศรีสุดดี
dc.contributor.author ศรีประไพ ขนุนทอง
dc.contributor.author ศิริลักษณ์ เพียรเจริญ
dc.contributor.author ภาวิณี คุปตวินทุ
dc.contributor.author มยุรี เก่งเกตุ
dc.contributor.author Thanon Inornwongsakul
dc.contributor.author Chai Roekchai
dc.contributor.author Atthapol Srisuddee
dc.contributor.author Sriprapai Khanuntong
dc.contributor.author Sirilak Phiancharoen
dc.contributor.author Pawinee Kupatawintu
dc.contributor.author Mayuree Kengkate
dc.contributor.other Thai Red Cross Society. National Blood Centre en
dc.contributor.other Thai Red Cross Society. National Blood Centre en
dc.contributor.other Thai Red Cross Society. National Blood Centre en
dc.contributor.other Thai Red Cross Society. National Blood Centre en
dc.contributor.other Thai Red Cross Society. National Blood Centre en
dc.contributor.other Thai Red Cross Society. National Blood Centre en
dc.contributor.other HuachiewChalermprakiet University. Faculty of Medical Technology en
dc.date.accessioned 2024-10-18T00:30:17Z
dc.date.available 2024-10-18T00:30:17Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.citation วารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตร์บริการโลหิต 31, 1 (มกราคม-มีนาคม 2564) : 9-16. en
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3045
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JHematolTransfusMed/article/view/246630/168043 en
dc.description.abstract Human platelet antigen (HPA) system มีความสำคัญโดยเฉพาะการเกิดภาวะ fetal-neonatal alloimmune thrombo-cytopenia, platelet transfusion refractoriness และ post-transfusion purpura การตรวจ จีโนไทป์ของ HPA จะเป็นประโยชน์ในการวินิจฉัยและการรักษาโรค วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาข้อมูลย้อนหลังของความถี่จีโนไทป์ HPA-1 ถึง HPA-11, HPA-13 ถึง HPA-15 และ HPA-17 ในผู้บริจาคเลือดคนไทย วัสดุและวิธีการ ศึกษาข้อมูลของความถี่จีโนไทป์ HPA-1, -2, -4, -5 และ HPA-6 จำนวน 10,510 ราย และตรวจจีโนไทป์ HPA-3, -7, -8, -9, -10, -11, -13, -14, -15 และ HPA-17 เพิ่มเติมในผู้บริจาคเลือดจำนวน 2,009 ราย ด้วยวิธี real-time PCR ในผู้บริจาคเลือดและเปรียบเทียบความถี่จีโนไทป์กับกลุ่มประชากรอื่นที่เคยมีรายงานไว้ผลกํารศึกษา จากผลการตรวจ พบว่า genotype frequencies ของ HPA ทั้ง 7 ระบบ คือ HPA-1a และ HPA-1b เท่ากับ 0.981 และ 0.019, HPA-2a และ HPA-2b เท่ากับ 0.953 และ 0.047, HPA-3a และ HPA-3b เท่ากับ 0.564 และ 0.436, HPA-4a และ HPA-4b เท่ากับ 0.999 และ 0.001, HPA-5a และ HPA-5b เท่ากับ 0.967 และ 0.033, HPA-6a และ HPA-6b เท่ากับ 0.985 และ 0.015 และ HPA-15a และ HPA-15b เท่ากับ 0.530 และ 0.470 ตามลำดับ พบว่าส่วนใหญ่เป็น จีโนไทป์แบบ homozygous aa รองลงมาคือ heterozygous ab ส่วน homozygous bb พบได้น้อย ยังไม่พบ HPA-4b4b แต่พบ HPA-6b6bได้ 1 ราย อัตราความชุกของจีโนไทป์ HPA-1 ถึง HPA-6 และ HPA-15 ในการศึกษานี้ใกล้เคียงกับรายงานก่อนหน้าในผู้บริจาคเลือดคนไทยแต่พบความแตกต่างกลุ่มประชากรเอเชียอื่นที่มีรายงานไว้ สรุป การศึกษานี้ได้รายงานความถี่ของจีโนไทป์ HPA-1 ถึง HPA-6 และ HPA-15 รวมทั้ง HPA-7 ถึง HPA-11, HPA-13, HPA-14 และ HPA-17 ในผู้บริจาคเลือดคนไทย ซึ่งเป็นข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ในการจัดหาเกล็ดเลือดจากผู้บริจาคเลือดที่เป็น HPA-matched ให้กับผู้ป่วยที่สร้างแอนติบอดีต่อเกล็ดเลือด อีกทั้งใช้ในการเตรียมเซลล์มาตรฐานที่เหมาะสมในการตรวจแยกชนิดของแอนติบอดี เพื่อช่วยเพิ่มความปลอดภัยของการให้เกล็ดเลือดกับผู้ป่วย en
dc.description.abstract Introduction: Human platelet antigen (HPA)systems are involved in fetal-neonatal thrombocytopenia, platelet transfusion refractoriness, and post-transfusion purpura. The HPA genotyping is beneficial in the diagnosis and treatment. Objective: This retrospective study aimed to determine genotype frequencies of HPA-1 toHPA-11, HPA-13 toHPA-15 andHPA-17 in Thai blood donors. Materials and Methods: Totally, 10,510 donor samples were genotyped for HPA-1, -2, -4, 5, andHPA-6, and extended genotypes by real time-PCR. Consequently, 2,009 samples were genotyped for HPA-3, -7, -8, -9, -10, -11, -13, -14,-15 and HPA-17. The frequencies were compared with other populations previously reported. Results: Among blood donors, the frequencies of HPA-1aandHPA-1b were 0.981 and 0.019; HPA-2a and HPA-2b were 0.953 and 0.047; HPA-3a and HPA-3b were 0.564 and 0.436, respectively. The frequencies of HPA-4a and HPA-4b were 0.999 and 0.001; HPA-5a and HPA-5b were 0.967 and 0.033 and HPA-6a and HPA-6b were 0.985 and 0.015. For the HPA extended genotypes, the most common was homozygous aa, followed by heterozygous ab and homozygous bb was rare. The HPA-4b4b was not found while, only one donor with HPA-6b6b was observed. The prevalence rates of HPA-1 to HPA-6, and HPA-15 were similar to a related study in Thai blood donors and showed significantly different from other Asian populations previously reported. Conclusion: This study showed genotype frequencies of HPA-1 to HPA-6, and HPA-15, and extended genotypes in Thai blood donors. This data is useful to provide HPA-matched platelet donors for patients with HPA antibodies. In addition, the data file could provide appropriate panel cells not only to identify antibody specificity but also to increase transfusion safety en
dc.language.iso th en
dc.subject จีโนไทป์ en
dc.subject Genotype en
dc.subject แอนติเจนเกล็ดเลือดของมนุษย์ en
dc.subject Human platelet antigen en
dc.subject ผู้บริจาคโลหิต en
dc.subject Blood donors en
dc.title ความถี่ของจีโนไทป์ HPA-1 ถึง HPA-11, HPA-13, -14, -15 และ HPA-17 ในผู้บริจาคโลหิตคนไทย en
dc.title.alternative Frequencies of HPA-1 to HPA-11, HPA-13, -14, -15 and HPA-17 in Thai blood donors en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account