DSpace Repository

ตัวแบบอนุกรมเวลาสำหรับการพยากรณ์ราคาข้าวเปลือกหอมมะลิ ระหว่างวิธีการพยากรณ์ของโฮลต์ วิธีการพยากรณ์ของบ๊อกซ์-เจนกินส์ และวิธีการพยากรณ์ร่วม

Show simple item record

dc.contributor.author ภัททิตา เลิศจริยพร
dc.contributor.author ยิ่งยง แสนเดช
dc.contributor.author Pattita Lurdjariyaporn
dc.contributor.author Yingyong Sandate
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.contributor.other Chalermkarnchana Rayong College . Faculty of Business Administration en
dc.date.accessioned 2024-10-30T13:43:45Z
dc.date.available 2024-10-30T13:43:45Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3170
dc.description การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 2 “การศึกษาคือนวัตกรรมนำพาประเทศชาติสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (The 2nd Academic Science and Technology Conference 2014) (ASTC2014) “Innovative Education Challenges the Nation towards AEC”) วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2557 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ : หน้า 108-113 en
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://drive.google.com/file/d/1gtlqFS7K2bX32az27DwI7oWm03WVr1rK/view en
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นการศึกษาตัวแบบการพยากรณ์ โดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา เพื่อพยากรณ์ราคาข้าวเปลือกหอมมะลิ เทคนิคการวิเคราะห์อนุกรมเวลาที่นำมาใช้ 3 วิธี คือ วิธีการปรับให้เรียบเอ็กซ์โปเนนเชียลโฮลท์ วิธีบ๊อกซ์ – เจนกินส์ และการพยากรณ์ร่วม โดยข้อมูลที่นํามาศึกษาเป็นข้อมูลรายเดือน ที่มีลักษณะแนวโน้ม ตั้งแต่เดือนมกราคม 2550 ถึงเดือนตุลาคม 2556 เปรียบเทียบการพยากรณ์ทั้ง 3 วิธีด้วยค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์ (MAPE) ผลการวิจัย พบว่า การวิเคราะห์อนุกรมเวลาด้วยวิธีการพยากรณ์รวมเป็นวิธีการพยากรณ์ที่เหมาะสมในการพยากรณ์ราคาข้าวเปลือกหอมมะลิ เนื่องจากให้ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์ (MAPE) ต่ำที่สุด en
dc.description.abstract The purpose of this research is to study forecasting models by using analysis of time series for prediction of the price of paddy rice. The three techniques used for time series analysis are Holt, Box – Jenkins method and Combination Forecasting. The studied data were monthly time series with trends from January 2007 to October 2013. The comparison of the three forecasting methods used Mean Absolute Percent Error (MAPE). The result of the study found that time series analysis by using combination forecasting was the best techniques for forecasting price of paddy rice because it has the lowest of Mean Absolute Percent Error (MAPE). en
dc.language.iso th en
dc.rights คณะกรรมการจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 2 en
dc.subject การวิเคราะห์อนุกรมเวลา en
dc.subject Time-series analysis en
dc.subject พยากรณ์การขาย en
dc.subject Sales forecasting en
dc.subject ข้าว – ราคา en
dc.subject Rice – Prices en
dc.subject ข้าวเปลือกหอมมะลิ en
dc.subject Paddy Rice en
dc.subject พยากรณ์แบบบอกซ์-เจนกินส์ en
dc.subject Box-Jenkins forecasting en
dc.subject พยากรณ์แบบโฮลต์-วินเทอร์ en
dc.subject Holt-Winters Forecasting en
dc.subject พยากรณ์ร่วม en
dc.subject Combination Forecasting en
dc.title ตัวแบบอนุกรมเวลาสำหรับการพยากรณ์ราคาข้าวเปลือกหอมมะลิ ระหว่างวิธีการพยากรณ์ของโฮลต์ วิธีการพยากรณ์ของบ๊อกซ์-เจนกินส์ และวิธีการพยากรณ์ร่วม en
dc.title.alternative Time Series Forecasting of Paddy Rice Price by the Comparison of Holt’s Forecast Method, Box-Jenkin’s Forecast Method and Combination Forecast Method en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account