Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1110
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทวีโภค เอี่ยมจรูญ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์th
dc.date.accessioned2023-01-29T12:17:27Z-
dc.date.available2023-01-29T12:17:27Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1110-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่องเทคโนโลยีสื่อเพื่อการนำเสนอ ตามเกณฑ์ที่กำหนด และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตกับนักศึกษาที่เรียนแบบปกติประชากรที่ใชัในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีทุกชั้นปีที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาเทคโนโลยีสื่อเพื่อการนำเสนอ ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2552 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติโดยแบ่งเป็น 3กลุ่ม กลุ่มละ 30คน จำนวน 90 คน ซึ่ งกลุ่มแรกเป็นกลุ่มผู้เรียนที่ใช้หาประสิทธิภาพบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กลุ่มที่ 2 ใช้การเรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และกลุ่มที่ 3 ใช้การเรียนด้วยวิธีการเรียนแบบปกติผลการวิจัยสรุปไดด้งต่อไปนี้ 1.การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง เทคโนโลยีสื่อเพื่อการนำเสนอ มีประสิทธิภาพช่วยให้นักศึกษาดำเนินการเรียนการสอนตามเนื้อหารายวิชาเลือกเสรีของหลักสูตรในระดับปริญญาตรีได้เป็นอย่างดี ซึ่งเป็นประสิทธิภาพของกระบวนการ : ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ตามเกณฑ์ 80 :80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถช่วยให้นักศึกษามีผลการเรียนสูงกวาผู้ที่เรียนด้วยวิธีการเรียนการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th
dc.description.abstractThe objective of this research was to study the effectiveness of the lessons on the Internet. Mediatechnology for presentations. According to established criteria. and to compare the academic achievementof students learning on the Internet with regular students.Population used in this study. The undergraduate students every year. Enrolled students for presentations and media technology. Semester 1 Academic Year 2552 Huachiew Chalermprakiet University honor was divided into 3 groups of 30 participants were 90 people, the first group is a group of students who used a powerful lesson on the Internet, group 2 for students with lessons on the Internet. and group 3, with the traditional learning methods. The results are summarized as follows.1. The lesson of the Internet media delivery technology. Effectively help students to teaching as afree elective courses on the undergraduate level as well. The efficiency of the process: performance resultsbased on 80: 80. 2. The achievement of students learning on the Internet. Can help students with higher gradesthan those who learned traditional methods of teaching. Statistically significant at the 0.05 level.th
dc.description.sponsorshipการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2550th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectอินเทอร์เน็ตในการศึกษาขั้นอุดมศึกษาth
dc.subjectInternet in higher educationth
dc.subjectเทคโนโลยีทางการศึกษาth
dc.subjectEducational technologyth
dc.subjectสื่อการสอนth
dc.subjectTeaching -- Aids and devicesth
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth
dc.subjectWeb-based instructionth
dc.titleการพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเรื่อง เทคโนโลยีสื่อเพื่อการนำเสนอth
dc.title.alternativeThe Development of Lessons on the Internet : Technology Media for Presentationth
dc.typeTechnical Reportth
Appears in Collections:Liberal Arts - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf337.46 kBAdobe PDFView/Open
Tableofcontents.pdf221.01 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf237.27 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf524.51 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf342.33 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdf182.47 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdf199.58 kBAdobe PDFView/Open
References.pdf4.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.