Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม-
dc.contributor.advisorหทัยชนก บัวเจริญ-
dc.contributor.advisorKamonthip Khungtumneum-
dc.contributor.advisorHathaichanok Buajaroen-
dc.contributor.authorมัตถก ศรีคล้อ-
dc.contributor.authorMathaka Sriklo-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.date.accessioned2022-04-24T13:02:40Z-
dc.date.available2022-04-24T13:02:40Z-
dc.date.issued2014-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/149-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.) (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2557th
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของโปรแกรมส่งเสริมการดูแลเท้าต่อการรับรู้พลังอำนาจและพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองสวน จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 30 ราย ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูเท้าต่อการรับรู้พลังอำนาจและพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองสวน จังหวัดสมุทรปราการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 2) แบบสอบถามการรับรู้พลังอำนาจของตนเองในการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ 3) แบบประเมินเท้าผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เครื่องมือในการดำเนินการทดลองประกอบด้วย โปรแกรมส่งเสริมการดูแลเท้าต่อการรับรู้พลังอำนาจและพฤติกรรมการดูแลเท้า โดยใช้กรอบแนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจของกิบสัน ผลการวิจัย พบว่า 1. ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลเท้าต่อการรับรู้พลังอำนาจ และพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองสวน จังหวัดสมุทรปราการ มีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้พลังอำนาจของตนเองในการดูแลเท้าและค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้พลังอำนาจของตนเองในการดูแลเท้าและค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ภายหลังการได้รับโปรแกรมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) 2. ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลเท้าต่อการรับรู้พลังอำนาจ และพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองสวน จังหวัดสมุทรปราการ มีค่าเฉลี่ยของระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) หลังการเข้าโปรแกรมลดลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) 3. ผู้ป่วยเบาหวาานชนิดที่ 2 ที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลเท้าต่อการรับรู้พลังอำนาจและพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองสวน จังหวัดสมุทรปราการ มีค่าเจาะเลือดเพื่อประเมินระดับฮีโมโกลบินที่มีน้ำตาลเกาะ (BbA1C) หลังการเข้าโปรแกรมลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001)th
dc.description.abstractThe present quasi-experimental study aimed at investigating the effects of a foot care promotion program on perceived empowerment and foot care behavior in patients with type 2 diabetes mellitus at Tambon Bann Klongsuan Health Promoting Hospital, Samut Prakarn Province. The study sample consisted of 30 patiebrs with type 2 diabetes mellitus who received the foot care promotion program. The instruments used to collect data consisted of 1) the foot care behavior in patients with type 2 diabetes mellitus questionnaire, 2) the perceived empowerment of pateints with type 2 diabetes mellitus questionnaire, and 3) the foot assessment scale. The experimental instrument in this study was the foot care promotion program developed based on the conceptual framework of empowerment proposed by Gibson (1991). The study findings were as follows: 1. After receiving the foot care promotion program, the mean scores of perceived empowerment and foot care behavior of patients with type 2 diabetes mellitus at Tambon Bann Klongsuan Health Promoting Hospital Samut Prakarn Province were higher than those obtained before receiving the program with statistical significance (p<0.001). 2. After receiving the foot care promotion program, the mean fasting blood sugar (FBS) level of patients with type 2 diabetes mellitus at Tambon Bann Klongsuan Health Promoting Hospital, Samut Prakan Province was lower than that measured befor receiving the program with statistical significance (p<0.001). 3. After receiving that foot care promotion program, the mean HbA1C level of patients with type 2 diabetes mellitus at Tambon Bann Klongsuan Health Promoting Hospital, Samut Prakan Province was lower than that measured before receiving the program with statistical significance (p<0.001)th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน -- ผู้ป่วยth
dc.subjectNon-insulin-dependent diabetes -- Patientsth
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองth
dc.subjectSelf-care, Healthth
dc.subjectเท้า -- บาดแผลและบาดเจ็บth
dc.subjectFoot -- Wounds and injuriesth
dc.subjectType 2 diabetes-
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมการดูแลเท้าต่อการรับรู้พลังอำนาจและพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองสวน จังหวัดสมุทรปราการth
dc.title.alternativeEffects of a Foot Care Promotion Program on Perceived Empowerment and Foot Care Behavior in Patients with Type 2 Diabetes Mellitus at Tampon Bann Klongsuan Health Promoting Hospital, Samut Prakarn Provinceth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนth
Appears in Collections:Nursing - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf357.16 kBAdobe PDFView/Open
Tableofcontents.pdf152.25 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf192.15 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf497.16 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf247.7 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdf337.78 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdf170.58 kBAdobe PDFView/Open
References.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.