Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2017
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิรนีย์ สุรเศรษฐ | - |
dc.contributor.advisor | Jiranee Suraseth | - |
dc.contributor.author | เกศิณี เลียวตระกูล | - |
dc.contributor.author | Kasinee Lievtrakul | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration | - |
dc.date.accessioned | 2024-04-07T04:10:19Z | - |
dc.date.available | 2024-04-07T04:10:19Z | - |
dc.date.issued | 2002 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2017 | - |
dc.description | ภาคนิพนธ์ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2545 | th |
dc.description.abstract | สมัยก่อนการผลิตเฟอร์นิเจอร์ในประเทศไทยเป็นการผลิตแบบชาวบ้าน โรงงานขนาดเล็กและขนาดย่อม ทำตามที่ลูกค้าสั่ง ต่อมาเศรษฐกิจเริ่มมีการขยายตัวดีขึ้น จึงมีการลงทุนเพิ่มมากขึ้น มีการสร้างโรงงานขนาดใหญ่ เพื่อทำการผลิตและเริ่มทำการส่งออกเฟอร์นิเจอร์ จนกลายเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ปัจจุบันอุตสาหกรรมเครื่องเฟอร์นิเจอร์ไทยมีการขยายตัวมากขึ้น สามารถสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เมื่อประเทศไทยเกิดวิกฤติการณ์ทางด้านการเงินในปี 2540 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ตกต่ำ ส่งผลต่อหลายอุตสาหกรรมต่อเนื่องมากมายรวมถึงอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ ทำให้หลายบริษัทปรับตัวไม่ทัน และถึงกับขาดทุน บริษัท เอ เฟอร์นิเทค จำกัด เป็นบริษัทหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤติการณ์ครั้งนี้ จนทำให้เสียความเป็นผู้นำตลาดให้กับคู่แข่ง เนื่องจากการแข่งขันในตลาดเฟอร์นิเจอร์ระดับบนที่สูงขึ้น เพราะคู่แข่งมีการใช้กลยุทธ์ทางด้านราคาในตราสินค้าเพื่อการแข่งขัน การส่งเสริมการขายและการขยายช่องทางการจัดจำหน่ายที่มากกว่าบริษัท กลยุทธ์ที่ใช้ในการแก้ปัญหา คือ กลยุทธ์การเจาะตลาด (Market penetration strategy) โดยการเน้นการโฆษณาและส่งเสริมการขาย ตลอดจนเพิ่มจำนวนโชว์รูปในตลาดเดิม คือ ตลาดระดับบน (โฮม คิดเช่นและออฟฟิต) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีปัญหาของบริษัท การใช้กลยุทธ์หลายตรา (Multibrands) หรือตราสินค้าเพื่อการแข่งขัน (Fighting brand) เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าในตลาดระดับกลางและปกป้องตลาดระดับบนจากคู่แข็งที่ใช้กลยุทธ์ทางด้านราคา การใช้กลยุทธ์การพัฒนาตลาด (Market development strategy) เพื่อพัฒนาตลาดใหม่ซึ่งก็คือ ตลาดวัยรุ่น ตลาดเฟอร์นิเจอร์สำนักงานเหล็ก | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.rights | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | อุตสาหกรรมเครื่องเรือน | th |
dc.subject | Furniture industry and trade | th |
dc.subject | เครื่องเรือน | th |
dc.subject | Furniture | th |
dc.subject | การแข่งขันทางการค้า | th |
dc.subject | Competition | th |
dc.subject | บริษัท เอ เฟอร์นิเทค จำกัด | th |
dc.subject | A Furnitech Co., Ltd. | th |
dc.title | การเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของบริษัท เอ เฟอร์นิเทค จำกัด | th |
dc.title.alternative | Increasing the Competitiveness of A Furnitech Co., Ltd. | th |
dc.type | Independent Studies | th |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ | th |
Appears in Collections: | Business Administration - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kesinee-Leaytrakul.pdf Restricted Access | 8.95 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.