Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/557
Title: | 中泰抗日文学比较--《四世同堂》与《土, 水和花》的创作分析 |
Other Titles: | การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมต่อต้านญี่ปุ่นของจีนและไทย วิเคราะห์ผลงานประพันธ์ระหว่าง "สี่รุ่นร่วมเรือน" และ "ดิน น้ำ และดอกไม้" A Comparison of Chinese and Thai Anti-Japanese Literature : A Literary Analysis of "The Yellow Storm" and "Earth, River and Flowers" |
Authors: | 倪金华 Ni, Jinhua หนี, จินฮว๋า 柯芳芳 ธนิสสรา เคอร์ |
Keywords: | วรรณคดีเปรียบเทียบ Comparartive literature ความรักชาติ Patriotism การวิเคราะห์เนื้อหา Content analysis (Communication) Lao-She -- Literary style 老舍 เสนีย์ เสาวพงศ์ -- แนวการเขียน สงครามในวรรณคดี สงครามจีน-ญี่ปุ่น, ค.ศ.1894-1895 比较文学 爱国主义 内容分析 文学中的战争 甲午战争, 1894-1895 |
Issue Date: | 2011 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | 第二次世界大战时期,日本军队全面侵略亚洲国家,中国与泰国同样面临被征服的命运。战争结束后,中国知名大作家“老舍”,借以《四世同堂》的人物与故事,揭露中国人处于该时期的苦难生活,并且表现出其“抗日思想”与“爱国之心”,使之被称为中国“抗日文学”作品。与此同时,泰国大作家“社尼‧绍瓦蓬”也创作了相似的“抗日文学”作品,即《土、水和花》,述说年轻知识分子的抗日活动,揭示他们甘心情愿为国家效劳,表达作家对国家的热爱之情。本论文的主要目的是研究分析两位作家如何用作品表现出自己的爱国情操。因为他们热爱国家,才可以创作出这么相似的表达爱国情感的作品。本论文的主要内容分成四章。第一章是创造背景的比较与第二次世界大战背景的描述:提出外在因素怎样影响两位作家在创作上对日本持有不同的态度;同时,比较两位作家的写作背景、抗日经历的共同与不同点。第二章把《四世同堂》与《土、水和花》所表所表现的抗日思想来做分析比较。第三章为进一步分析比较,把主要人物分成三组:抗日英雄、普通民众和汉/泰奸。第四章在艺术手法的三大方面上,即艺术构想、语言和人物刻画,进行比较。作品所表现出的“抗日思想”反映了两位大作家的爱国之心。他们为国家牺牲的行为,提醒我们后代人也要珍惜前代人辛苦保护而留下的国家。 สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ทั้งทวีปเอเชียถูกกองทัพญี่ปุ่นรุกราน ทั้งประเทศจีนและประเทศไทยต่างเผชิญกับโชคชะตาที่ต้องตกเป็นผู้ถูกควบคุม เมื่อสงครามสิ้นสุด นักเขียนชื่อดังของจีนนามว่า “เหลาเส่อ” ได้ตีแผ่การใช้ชีวิตอันยากลำบากของคนจีนในยุคนั้น และแสดงออกถึง “แนวคิดต่อต้านญี่ปุ่น” และ “หัวใจรักชาติ” ของผู้เขียน โดยผ่านทางตัวละครและเรื่องราวของนวนิยายเรื่อง “สี่รุ่นร่วมเรือน” [ ] จนได้รับการกล่าวขานว่าเป็น “บทประพันธ์ต่อต้านญี่ปุ่น” ของชนชาติจีน ในขณะเดียวกัน นักเขียนที่ยิ่งใหญ่ของไทย “เสนีย์ เสาวพงศ์” ก็ได้เขียน “บทประพันธ์ต่อต้านญี่ปุ่น” ในลักษณะเดียวกัน คือนวนิยายเรื่อง “ดิน น้ำและดอกไม้” เล่าเรื่องราวการต่อต้านญี่ปุ่นของปัญญาชนวัยหนุ่มสาวแสดงถึงความเต็มอกเต็มใจในการรับใช้ชาติบ้านเมืองในช่วงระหว่างสงครามของตัวละคร วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้คือทำการวิจัยวิเคราะห์หัวใจรักชาติที่แสดงผ่านผลงานประพันธ์ของนักเขียนทั้งสองท่าน เพราะพวกเขารักชาติบ้านเมือง จึงสามารถประพันธ์ผลงานออกมาได้อย่างคล้ายคลึงกันเช่นนี้เนื้อหาที่สำคัญในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้แบ่งเป็น 4 บท บทที่ 1 เป็นการเปรียบเทียบเบื้องหลังการประพันธ์นวนิยาย และการบรรยายถึงพื้นฐานของสงครามโลกครั้งที่สอง นำเสนอปัจจัยภายนอกที่ทำให้นักเขียนทั้งสองมีทัศนคติต่อญี่ปุ่นแตกต่างกันในการประพันธ์ ในขณะเดียวกันก็ทำการเปรียบเทียบจุดเหมือนและจุดต่างในเบื้องหลังการประพันธ์ของนักเขียนทั้งสองท่านกับประสบการณ์ต่อต้านญี่ปุ่น ในบทที่ 2 นำแนวคิดต่อต้านญี่ปุ่นที่แสดงออกมาในผลงานเรื่อง “สี่รุ่นร่วมเรือน” กับ “ดิน น้ำและดอกไม้” มาทำการวิเคราะห์และเปรียบเทียบ บทที่ 3 เพื่อให้การวิเคราะห์และเปรียบเทียบลึกซึ้งยิ่งขึ้น จึงนำตัวละครมาแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ วีรบุรุษต่อต้านญี่ปุ่น ประชาชนทั่วไป และผู้ทรยศต่อชาติ บทที่ 4 ทำการเปรียบเทียบในด้านกลวิธีการประพันธ์ โดยเปรียบเทียบใน 3 ด้านใหญ่ๆ คือ โครงเรื่อง ภาษา และการสร้างตัวละครนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ทั้งสองท่านได้แสดง “แนวคิดต่อต้านญี่ปุ่น” ออกมาในผลงาน สะท้อนให้เห็นถึงหัวใจที่รักชาติ การเสียสละเพื่อประเทศชาติของนักเขียนทั้งสองท่าน ย้ำเตือนให้คนรุ่นหลังสำนึกถนอมรักษาชาติบ้านเมืองที่คนรุ่นก่อนปกปักษ์ให้ตกทอดสืบมาด้วยความยากลำบาก During the Second World War, all Asian countries were invaded by Japan’s army. Both China and Thailand have been confronted with the same destiny. After the war had finished, the famous Chinese’s writer “Lao-She” wrote The Shadow in Yellow Strom, this story was accepted as the best story that could show a variety aspect of Chinese’s toilsome life in the war periods. The writer expressed his Anti-Japan Concept and Patriotism through the story and characters, his work was named as Anti-Japan Literature. An influential Thai writer “Senee Saowaphong” has also written the similar Anti-Japan Literature that is Earth, River and Flower, described the educated young people fighting against the Japan’s army, showing their willingness to serve their own country. The objective of this thesis is to research and analyze the expression of both writers’ Patriotism through their literature by making a comparison. Because of their Patriotism, it’s the reason why they wrote the similar kind of literature.The main content of the thesis is divided into 4 chapters. In the first chapter is the background of the Second World War. While proposing the outside factors that influent both writers to have different attitude to Japan, comparing their writing background and their Anti-Japan’s experience. The second chapter analyses and compares the Anti-Japan Concept that was shown in The Shadow in Yellow Strom and Earth, River and Flower. The third chapter makes a deeper analysis and comparison by dividing the important characters in both stories into 3 groups: Anti-Japan’s heroes, General public and Chinese/Thai traitors. The forth chapter is a comparison on the writing techniques, concentrates on 3 main points, which are the art of story structure, language and characters portray.Both big writers have expressed the Anti-Japan Concept and Patriotism though their literatures. Their sacrificing behaviors remind the next generation of the beloved country which the ancestors have fought for and left them. |
Description: | Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2011 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/557 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Abstract.pdf | 690.93 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Table of contents.pdf | 411 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chapter1.pdf | 566.93 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chapter2.pdf Restricted Access | 531.15 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
Chapter3.pdf Restricted Access | 552.29 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
Chapter4.pdf Restricted Access | 462.18 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
References.pdf | 524.76 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.