Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/679
Title: 张爱玲与素婉妮∙素坤塔爱情小说比较
Other Titles: A Comparative Study of the Romance Novels of Zhang Ai Ling and Suwanni Sukontha
เปรียบเทียบนวนิยายรักของจางอ้ายหลิงและสุวรรณี สุคนธา
Authors: 黄河
Huang, He
หวง, เหอ
吴倩文
สาวิตรี ตนสาลี
Keywords: จาง, อ้ายหลิง
张爱玲
Zhang, Ailing
ความรักในวรรณกรรม
Love in literature
นวนิยายจีน -- ประวัติและวิจารณ์
นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์
比较文学
素婉妮
中国小说 -- 历史与批评
泰国小说 -- 历史与批评
Chinese fiction -- History and criticism
Thai fiction -- History and criticism
对文学的热爱
Issue Date: 2009
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: จางอ้ายหลิง (พ.ศ. 2463-2538) และสุวรรณี สุคนธา (พ.ศ. 2475-2527) เป็นนักเขียนสตรีที่โดดเด่นของประเทศจีนและไทย แม้เชื้อชาติและวัฒนธรรมจะต่างกันแต่กลับมีส่วนคล้ายคลึงในแง่ประสบการณ์ชีวิตรักที่ล้มเหลวทำให้นักเขียนทั้งสองต่างประพันธ์นวนิยายที่นำเสนอความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างชายหญิงเป็นหลัก สะท้อนจากมุมมองเล็กไปสู่ใหญ่ กล่าวคือจากความรักหญิงชายไปสู่ระบบครอบครัวจนถึงระดับสังคมในที่สุด ผู้เขียนได้ทำการศึกษานวนิยายรักชิ้นเอกของจางอ้ายหลิง จำนวน 3 เรื่อง (คือบันทึกตรวนทอง พ.ศ. 2486, รักล้นมหาศาล พ.ศ. 2486, และเล่ห์ราค พ.ศ. 2493) และนวนิยายรักชิ้นเอกของสุวรรณี สุคนธา จำนวน 3 เรื่องเช่นกัน (คือเขาชื่อกานต์ พ.ศ. 2513, พระจันทร์สีน้ำเงิน พ.ศ. 2519, และฝันสีรุ้ง พ.ศ. 2524) โดยใช้การวิเคราะห์กลวิธีการประพันธ์นวนิยายรักเพื่อสะท้อนจุดประสงค์และตัวตนของนักประพันธ์หญิง พบว่าทั้งคู่มีจุดร่วมในมุมมองความรักที่ไม่สมบูรณ์แบบ ไร้อุดมคติ แสดงลักษณะสตรีนิยมของทั้งคู่อย่างเด่นชัด และยังได้ตีแผ่ธาตุแท้ของมนุษย์ตลอดจนวิพากษ์สังคมที่อัปลักษณ์ของทั้งจีนและไทยอย่างเข้มข้น นอกจากนี้ในความแตกต่างทางพื้นเพชีวิต และขนบวัฒนธรรมของนักเขียนสองประเทศก็ยังถ่ายทอดผ่านศิลปะการสร้างตัวละคร การดำเนินเรื่องการบรรยายฉากและการใช้ภาษาที่ต่างกัน ด้วยเหตุนี้ทั้งจุดร่วมและจุดต่างในการสร้างสรรค์นวนิยายรักของนักเขียนหญิงทั้งคู่จึงทรงคุณค่าและเป็นประโยชน์ทั้งต่อแวดวงวรรณกรรมจีนและไทยสืบไป
Ailing Zhang (1920-1995) and Suwanni Sukhontha (1931-1984) are both the most outstanding female writers of China and Thailand respectively. Although they come from different nations and cutures, most of their works focus on love experiences, especially the failure ones. Moreover, their novels are mainly based on heterosexual relationship, illustrate small to big scale problems, reflect inner to outer conflicts, and criticizze romance, family structure, and social conditions. Comparative studying Ailing Zhang's three masterpieces, which are Memoir of Golden Chain, Love in a Fallen City, Lust Caution and Suwanni Sukhontha'a three masterpieces including Doctor Kan, Rainbow Dream, Blue Moon provides new perspective on their romance novels. Their similarities consist of the concept of imperfect love which significantly reflects their idea of female autonomy, and criticism of human nature and social hierarchy. However, Ailing Zhang and Suwanni Sukontha are from different backgrounds and cultures. Their major differences include their characterization, plot, setting, and writing device. Thus, the study of the romance novels of Ailing Zhang and Suwanni Sukhotha will be valuable for those who are interested in Chinese and Thai modern literature.
张爱玲(1920-1995 年)与素婉妮·素坤塔 (1932-1984 年)分别是中、泰两国杰出的女作家。她们虽然来自不同国家,有着不同的文化背景,可是她们却有着共同的失败的婚姻恋爱经历,因而她们创作的小说作品大多数是以男女爱情为线索,反映当时的家庭关系乃至整个社会。 笔者通过张爱玲三部代表作品(即《金锁记》、《倾城之恋》、 《色,戒》)与素婉妮·素坤塔的三部代表作品(即《甘医生》、《虹彩之梦》、《深蓝月亮》),从新的角度对两位作家的爱情小说进行对比研究,发现两位作家都秉持着无完美、无理想的爱情观,含蓄地反映了两位女性作家不同的女性意识,展现了人性美,并批判了当时的丑恶社会。由于两位作家所处的国家不同,文化习俗不同,她们在描写不同时期的不同人物时采用的描写、叙事手法,语言风格等方面都存在差异。因此,对二位女作家创作的爱情小说进行对比,将会进一步有利于中泰两国文学的交流与发展。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2009
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/679
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf441.66 kBAdobe PDFView/Open
TableofContents.pdf85.25 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf317.68 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf636.9 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf755.28 kBAdobe PDFView/Open
References.pdf357.18 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.