DSpace Repository

Browsing วิทยาลัยจีนศึกษา by Issue Date

Browsing วิทยาลัยจีนศึกษา by Issue Date

Sort by: Order: Results:

  • 李学志; หลี, เสวียจื้อ; Li, Xuezhi (Huachiew Chalermprakiet University, 2011)
    中泰是关系密切的友好邻邦。两国人民的友谊源远流长。这种友好关系,促进了中华文化和中国文学在泰国的流传。 中国文学泰译活动最早发生在曼谷王朝一世王时期。这是《三国演义》和《西汉演义》先被翻译成泰文,引发了翻译中国古典小说的热潮。到20世纪20年代末,这种热潮便进入了衰退期。但对泰国的语言、文化、文学、思想、建筑、道德等方面,都产生了机器深远的影响。二战后,毛泽东的著作,鲁迅、老舍、矛盾、曹禺等的现实主义文学作品开始的到大量的翻译。因 ...
  • ธเนศ อิ่มสำราญ; ไพศาล ทองสัมฤทธิ์; กิติกา กรชาลกุล; ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ; ศิริเพ็ญ กำแพงแก้ว; จันทิมา จิรชูสกุล; ณัฐรัตน์ วงศ์พิทักษ์; Thanet Imsamran; Phaisan Thongsamrit; Kitika Karachalkul; Thumwadee Siripanyathiti; Siriphen Kamphangkaew; Chanthima Chirachoosakul; Nattarat Wongpitak; 尹士伟; 陈慕贤; 王燕琛; 刘淑莲; 姚倩儒; 周美华; 张海燕 (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2011)
    การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2549 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยประเมินหลักสูตรใน 5 ด้าน 1. ความเหมาะสมของโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตร ...
  • 卢金财; Xu, Zong (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีชาวจีนโพ้นทะเลอพยพมาอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก และมีมาแต่ช้านานแล้ว ซึ่งชาวจีนโพ้นทะเลรุ่นแรก ๆ ได้แหวกคลื่นข้ามทะเลมายังประเทศแห่งพระพุทธศาสนานี้ เพื่ออยู่อาศัยและตั้งถิ่นฐาน โดยชาวจีนโพ้นทะเลต่างมีภู ...
  • 覃旭玲; วสุมดี สถานดี (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    นวนิยายเรื่อง "สี่แผ่นดิน" ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช และเรื่อง "สี่รุ่นร่วมเรือน" ของเหลาเส่อ ล้วนเป็นผลงานเชิงอัตถนิยมชิ้นเอก แม้ว่าผลงานทั้งสองเรื่องจะประพันธ์โดยกวีที่ต่างเชื้อชาติ แต่สิ่งที่ร่วมสมัยกัน ก็คือ ...
  • 邓芳秸; ปุณณาสา สินธุวานนท์ (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    ชาวจีนโพ้นทะเลยุคแรกๆ เริ่มอพยพมาประเทศไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัย จนถึงปัจจุบันมีประวัติยาวนานถึง 700 กว่าปี จากสถิติ ประเทศไทยมีชาวจีนโพ้นทะเลและลูกหลานชาวจีน 7 ล้านกว่าคน ในช่วงหลายร้อยปีมานี้มีชาวจีนอพยพหลั่งไหลเข้ามาประเท ...
  • 卢森兴; บัณฑิตย์ โลจนาทร (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    ปิงซินเป็นนักประพันธ์หญิงที่โดดเด่นในประวัติวรรณกรรมจีนสมัยใหม่ แม้บทร้อยแก้วของเธอจะผ่านลมฝนแห่งกาลเวลาซัดเซาะ แต่มนต์เสน่ห์ทางศิลปะก็มิได้ลดน้อยลง ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการตระหนักถึงปรัชญาคุณค่าแห่งความรักที่สมบูรณ์แบบต ...
  • 刘淑丽; นภัสวรรณ แสงศิลา (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาวรรณกรรมเปรียบเทียบบทประพันธ์ของนักเขียนหญิงที่มีชื่อเสียงสองท่าน คือ สุวรรณี สุคนธา จากเรื่อง เขาชื่อกานต์ และฟั่นเสี่ยวชิง จากเรื่องแพทย์เท่าเปล่าว่านเฉวียนเหอ จากการศึกษาวิจัยเปรียบเทีย ...
  • 李林松; Li, Linsong (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    นักวิชาการได้วิจัยผลงานของศรีบูรพาอย่างละเอียดลึกซึ้งและครอบคลุมมากขึ้น "แลไปข้างหน้า" เป็นวรรณกรรแนวสัจนิยม แสดงให้เห็นถึงความไม่เป็นธรรมในสังคมไว้อย่างลึกซึ้ง ซึ่งมีอิทธิพลทางสังคมเป็นอย่างยิ่งและอยู่ในความสนใจของวงการ ...
  • 叶文秀; อรชพร เอี้ยมสกุล (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    เจิ้งยั่วเซ่อ คือนักเขียนจีนโพ้นทะเลของประเทศไทยที่มากด้วยพรสวรรค์คนหนึ่ง ผลงานการประพันธ์เรื่องสั้นจำนวนมากของท่าน ได้ยึดคำว่า "อารมณ์" เป็นหัวใจสำคัญ ทั้งนี้ได้มีการตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์จีนในประเทศไทยแล้วกว่า 100 เรื่อง ...
  • 韦善勇; เหวย, ซ่านหย่ง (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    วรรณกรรมเรื่อง "สี่แผ่นดิน" ของ คึกฤทธิ์ ปราโมช จากเมืองไทย และเรื่อง "ตระกูลใหญ่ในม่านเมฆ" ของหลินอวี่ถังจากชาติจีน ต่างเป็นงานประพันธ์ที่มีชื่อเสียงและใกล้เคียงวรรณกรรมสมัยใหม่ อีกทั้งยังมีสถานะสำคัญเป็นอย่างมากในแวดวง ...
  • 郑丽文; ศิริวรรณ เจริญธรรมรักษา (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    เรื่องสั้นขนาดสั้นได้พัฒนาเข้ามาในประเทศไทยเป็นเวลากว่าครึ่งศตวรรษ ในช่วงเวลานี้ เรื่องสั้นขนาดสั้นกลายมาเป็นบทประพันธ์สำคัญของชาวจีนโพ้นทะเล และสะท้อนให้เห็นถึงภาพความมั่งคั่งของชาวจีนโพ้นทะเล เรื่องสั้นมีความสั้น กระชับ ...
  • 陈雅群; คณิศร ฉันทศรีวิโรจน์ (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    จากประวัติวรรณกรรมสมัยใหม่ในประเทศไทย ในศตวรรษที่ 20 ช่วงประมาณปี ค.ศ. 1940-1950 วงวรรณกรรมจีนในไทยได้กำเนิดนักเขียนหญิงกลุ่มหนึ่ง เหนียนล่าเหมยเป็นหนึ่งในจำนวนนั้น ทั้งยังเป็นนักเขียนหญิงที่มีรูปแบบที่เป็นตัวแทนและมีเส ...
  • 许秀云; ศิริพร เก้าเอี้ยน (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    หลิ่งหนานเหยิน เป็นทั้งกวี นักเขียน และน้กวิจารณ์ที่มีผลงานมากมายเป็นที่ยอมรับในวงวรรณกรรมภาษาจีนในประเทศไทย ชื่อเดิมคือ ฝูจีจง เกิดที่เมืองเหวินชาง มณฑลไหหลำ เมื่อปี ค.ศ. 1932 นามปากกาของเขาได้มาจากบทกวีกินลิ้นจี่ (สือลี่จือ) ...
  • 龙金华; วันวิสาข์ มังกรไพบูลย์ (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    ในจำนวนนักเขียนร่วมสมัยในประเทศไทยและประเทศจีน เจิงซิน นับเป็นบุคคลที่มีความโดดเด่นคนหนึ่ง ผลงานสำคัญของเขาได้แก่ เรื่องสั้นขนาดสั้น กวีและบทร้อยแก้ว ซึ่งมีผู้ทำการวิจารณ์งานเขียนไว้บ้างแล้ว ในบทประพันธ์ของเจิงซิน ...
  • 郑清源; Zheng, Qingyuan (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    本文将以二十世纪三四十年代中泰两国的著名作家曹禺和西巫拉帕为代表,对其作品《雷雨》和《画中情思》中的女主人公形象进行比较研究。《雷雨》和《画中情思》这两部几乎产生于同一时期的作品,成功地塑造了在人生经历和悲剧结局都存在极大相似性的女性形象——蘩漪和吉拉娣。同时它们也都对女性的悲剧命运给予了深刻的同情,是两部关注女性命运的优秀文学作品。蘩漪和吉拉娣自从诞生之日起,就分别成为中泰文学史上极具代表性的悲剧女性形象之一,将她们的悲剧放置于历史、 ...
  • 派琳•陈碧; ไพลิน เชิญเพชร (Huachiew Chalermprakiet University, 2012)
    นวนิยายเรื่อง "สี่แผ่นดิน" ของหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช และนวนิยายเรื่อง "บ้าน" ของปาจิน เป็นวรรณกรรมที่มีความโดดเด่นมากในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันออกสมัยใหม่ วรรณกรรมทั้งสองเรื่องได้พรรณนาถึงความตกต่ำของครอบครัวสังคมศักดินา ...
  • 卢玉福; Lu, Yufu. (Huachiew Chalermprakiet University, 2013)
    เมิ่งลี่จินตภาพ คือ "การหลอมรวมความรู้สึกนึกคิด" ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของบทกวี วิทยานิพนธ์นี้ชื่นชมวิเคราะห์บทกวีของเจิงซินอย่างสมบูรณ์และศึกษาอย่างเป็นระบบจากจินตภาพงานประพันธ์ของเจิงซิน โดยมุ่งหวังว่าจะเกิดประโยชน์ในกา ...
  • 戴韵; Dai, Yun (Huachiew Chalermprakiet University, 2013)
    ภาษาจีนและภาษาไทยคล้ายกันมาก ซึ่งเป็นภาษาที่ขาดการเปลี่ยนรูปแบบ ส่วนใหญ่จะอาศัยการเรียงลำดับและคำช่วยโครงสร้างต่างๆ แสดงไวยากรณ์ ทั้งนี้มีผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบต่อการเรียนภาษาจีนของนักเรียนไทย ในภาษาจีนปัจจุบัน gei ...
  • 常翔; Chang, Xiang (Huachiew Chalermprakiet University, 2013)
    นับตั้งแต่การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2474 ที่นำโดยกลุ่มหัวรุนแรงเรียกร้องประชาธิปไตยในนามว่า "คณะราษฎร" ทำให้ราชอาณาจักรสยามเปลี่ยนรูปแบบประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ทำให้ราชอาณาจักรสยามได้ดิ ...
  • 田野; Tian, Ye (Huachiew Chalermprakiet University, 2013)
    ในชีวิตประจำวันบ่อยครั้ง เราตั้งคำถามว่า เพราะเหตุใด มนุษย์จึงมีความสามารถในการเข้าใจภาษา ในที่นี้หมายความรวมทั้งการเรียนภาษาและปรัชญา ซึ่งนักปรัชญาและนักภาษาศาสตร์หลายท่านได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคำถามนี้ไว้ บ้างก็มีทัศนะที่ ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account