DSpace Repository

ผลของการต้มต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในเห็ดออรินจิ เห็ดหูหนูดำ เห็ดนางฟ้า และเห็ดหอม

Show simple item record

dc.contributor.author ภาวดี ช่วยเจริญ
dc.contributor.author กนกวรรณ นนทะวงษ์
dc.contributor.author พิชชาพร ดวงจันทร์
dc.contributor.author กฤษณา แต่งสวน
dc.contributor.author เวฬุรีย์ ทับทิมหอม
dc.contributor.author ชมพูนุท สินธุพิบูลยกิจ
dc.contributor.author จิรวัส ประทุมวัน
dc.contributor.author ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ
dc.contributor.author อิสยา จันทร์วิทยานุชิต
dc.contributor.author Pawadee Chauicharoen
dc.contributor.author Chompunoot Sinthupibulyakit
dc.contributor.author Jirawat Pratumwan
dc.contributor.author Panthip Rattanasingangchan
dc.contributor.author Issaya Janwittayanuchit
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology. Undergraduate Student en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology. Undergraduate Student en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology. Undergraduate Student en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology. Undergraduate Student en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology en
dc.date.accessioned 2025-05-24T12:50:48Z
dc.date.available 2025-05-24T12:50:48Z
dc.date.issued 2015
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3903
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/5-01/article/view/309/271 en
dc.description การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6, 6,1 (2015) มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา : 382-390. en
dc.description.abstract เห็ดประกอบไปด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและมีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งการต้มเป็นวิธีประกอบอาหารที่ง่าย ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาคุณสมบัติของการออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และสารประกอบฟีโนลิครวมในเห็ดออรินจิ (Pleurotus eryngii) เห็ดหูหนูดำ (Auricularia polytricha) เห็ดนางฟ้า (Pleurotus sajor-caju) และเห็ดหอม (Lentinus edodes) ที่ผ่านกระบวนการต้ม โดยแบ่งตัวอย่างเห็ดออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มแรก คือ เห็ดสด และกลุ่มที่สอง คือ เห็ดที่ผ่นกระบวนการต้ม โดยนำเห็ดทั้ง 2 กลุ่มไปอบแห้งเป็นเวลา 24 ชั่วโมง และทำการสกัดบด้วยสารละลายเมทานอลบริสุทธิ์ จากนั้นนำสารสกัดไปทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี 2,2-Diphenyl-l-pierylhydrazyl radical scavenging capacity assay (DPPH assay) แสดงเป็นค่า Trolox equivalent antioxidant capacity (TEAC) และวิเคราะหปริมาณสารประกอบฟีโนลิค รวมด้วยวิธี Folin-Ciocalteu แสดงเป็นค่า gallic acid equivalent (GAE) พบว่าสารสกัดในกลุ่มเห็ดสดมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระเรียงลำดับจากมากไปน้อยดังนี้ คือ เห็ดหอม เห็ดออรินจิ เห็ดนางฟ้า และเห็ดหูหนูดำ แต่สารสกัดในกลุ่มเห็ดที่ผ่านการต้มมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระเรียงลำดับจากมากไปน้อยดังนี้ คือ เห็ดออรินจิ เห็ดหอม เห็ดนางฟ้า และเห็ดหูหนูดำ (Auricularia polytricha) เห็ดนางฟ้า (Pleurotus sajor-caju) และเห็ดหอม (Lentinus edodes) ที่ผ่านกระบวนการต้มโดยแบ่งตัวอย่างเห็ดออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มแรก คือ เห็ดสด และกลุ่มที่สอง คือ เห็ดที่ผ่านกระบวนการต้ม โดยนำเห็ดทั้ง 2 กลุ่มไปอบแห้งเป็นเวลา 24 ชั่วโมง และทำการสกัดด้วยสารละลายเมทานอลบริสุทธิ์ จากนั้นนำสารสกัดไปทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี 2,2-Diphenyl-l-picrylhydrazyl radical scavenging capacity assay (DPPH assay) แสดงเป็นค่า Trolox equivalent antioxidant capacity (TEAC) และวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีโนลิค รวมด้วยวิธี Folin-Ciocalten แสดงเป็นค่า gallic acid equivalent (CAE) พบว่าสารสกัดในกลุ่มเห็ดสดมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระเรียงลำดับจากมากไปน้อยดังนี้ เห็ดหอม เห็ดออรินจิ เห็ดนางฟ้า และเห็ดหูหนูดำ แต่สารสกัดในกลุ่มเห็ดที่ผ่านการต้มมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระเรียงลำดับจากมากไปน้อยดังนี้ เห็ดออรินจิ เห็ดหอม เห็ดนางฟ้า และเห็ดหูนูดำ ส่วนปริมาณสารประกอบฟีโนลิค รวมในเห็ดทั้ง 4 ชนิดทั้งก่อนและหลังผ่านการต้มเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ คือ เห็ดออรินจิ เห็ดนางฟ้า เห็ดหอม และเห็ดหูหนูตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบการสูญเสียฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และสารประกอบฟีโนลิครวมในระหว่างการต้มพบว่าเห็ดหูหนูมีการสูญเสียฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และปริมาณสารประกอบฟิโนลิครวมมากที่สุด จากงานวิจัย จึงสรุปได้ว่า กระบวนการต้มมีผลเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติการออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และปริมาณสารประกอบฟีโนลิครวมในเห็ดออรินจิ เห็ดหูหนูดำ เห็ดนางฟ้า และเห็ดหอม en
dc.description.abstract The effect of boiling on antioxidant activity and total phenolic of King Oyster Mushrooms, Phoenix oyster mushrooms, Shitake mushrooms and Jew’s ear mushrooms was evaluated by scavenging of DPPH radical assay and Folin-Ciocalteu method. The first group is raw mushrooms and the second group is boiled mushroom then was dried in hot air oven for 24 hr and extraction by methanol. In raw mushroom group, Shiitake mushrooms showed highest antioxidant activity follow by King Oyster Mushrooms, Phoenix oyster mushrooms and Jew’s ear mushrooms. The boiled King Oyster Mushrooms showed highest antioxidant activity follow by Shiitake mushrooms, Phoenix oyster mushrooms and Jew’s ear mushrooms. The total phenolic of raw mushrooms and boiled mushrooms showed that King Oyster Mushrooms has the highest the total phenolic followed by Phoenix oyster mushroom, Shitake mushroom and Jew’s ear mushroom. This study showed that the cooking by boiling has effect antioxidant activity and total phenolic content of all mushroom. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา en
dc.subject เห็ดออรินจิ en
dc.subject Pleurotus eryngii en
dc.subject เห็ดหูหนูดำ en
dc.subject Auricularia polytricha en
dc.subject เห็ดนางฟ้า en
dc.subject Pleurotus sajor-caju en
dc.subject เห็ดหอม en
dc.subject Lentinus edodes en
dc.subject แอนติออกซิแดนท์ en
dc.subject Antioxidants en
dc.subject สารประกอบฟีนอล en
dc.subject Phenols en
dc.subject การต้ม en
dc.subject Boiling en
dc.title ผลของการต้มต่อฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในเห็ดออรินจิ เห็ดหูหนูดำ เห็ดนางฟ้า และเห็ดหอม en
dc.title.alternative The Effect of Boiling on Antioxidant Activity of King Oyster Mushroom, Jew’s Ear Mushroom, Phoenix Oyster Mushroom and Shitake Mushroom en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account