คณะเทคนิคการแพทย์: Recent submissions

  • พรทิพย์ พึ่งม่วง; สุวรรณา เสมศรี; ณัฐริณี หอระตะ; สมหญิง งามอุรุเลิศ; ชมพูนุท สินธุพิบูลยกิจ; ชลันดา กองมะเริง; Porntip Paungmoung; Suwanna Semsri; Natharinee Horata; Somying Ngamurulert; Chompunoot Sinthupibulyakit; Chalunda Kongmaroeng (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2019)
    การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการในการประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตรเพื่อค้นหาข้อบกพร่องและปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้ดียิ่งขึ้น งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพือประเมินหลักสู ...
  • ศราวุธ สุทธิรัตน์; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ; สุรศักดิ์ หมื่นพล; Sarawut Suttirat; Taweebhorn Panpanich; Isariya Ieamsuwan; Surasak Muenphon (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2009)
    ทำการดัดแปลงวิธีอินไดเร็คอิมมูโนเพอร์ออกซิเดส (IIP) สำหรับตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM ต่อเชื้อเลปโตสไปรา แล้วนำมาทดสอบกับตัวอย่างซีรัมจำนวน 111 ตัวอย่าง ประกอบด้วยซีรัมของผู้ป่วยเลปโตสไปโรซิส 65 ตัวอย่าง ตัวอย่างซีรัมควบคุมผลลบ ...
  • ดวงมณี แสนมั่น; อภิชาติ สุขสำราญ; ชัชวาลย์ ช่างทำ; สราวุธ สายจันมา; สุชา จุลสำลี; พรสุรี พงษ์สุชาติ; Duangmanee Sanmun; Apichart Suksamran; Chatchawan Changtam; Sarawut Saichanma; Sucha Julsomlee; Pornsuri Pongsuchart (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่่อศึกษาประสิทธิภาพของสารเคอร์คิวมินอยด์สามชนิด ได้แก่ curcumin (C1), demethoxycurcumin (C2) และ bis-demethoxycurcumin (C3) และแอนะล็อกสองชนิด คือ di-O-demethylcurcumin (C4) และ mono-O-demethylcurcumin ...
  • พรทิพย์ พึ่งม่วง; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; พัชรี กัมมารเจษฎากุล; ปัญจพร นิ่มมณี; สุทัศน์ บุญยงค์; Porntip Paungmoung; Watcharin Rangsipanuratn; Patcharee Kammarnjassadakul; Panjaphorn Nimmanee; Sutas Boonyong (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2012)
    ปัจจุบันมีรายงานการพบเชื้อ Acinetobacter baumannii ที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพกลุ่ม carbapenems เพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นปัญหาสําคัญทางด้านสาธารณสุขของทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้ศึกษาความชุกของเชื้อ A. baumannii ...
  • พัชรี กัมมารเจษฎากุล; จิดาภา เซคเคย์; นงนุช วณิตย์ธนาคม (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    เชื้อพิเทียม อินสิดิโอซัมเป็นเชื้อ homothallic oomycetes การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของเชื้อชนิดนี้เกิดการผสมพันธุ์ในตัวเอง โดยทั่วไปแล้วในเชื้อที่เป็น homothallic จะมีความหลากหลายทางพันธุกรรมต่ำในกลุ่มประชากรเดียวกัน ...
  • วีรวรรณ ชาญศิลป์; สิณีนาฏ อุทา; กฤศธร องค์ติลานนท์ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคโปรไบโอติกกับระดับไตเตอร์ anti-A และ anti-B ผู้วิจัยและคณะได้ทําการเปรียบเทียบ ระดับไตเตอร์ anti-A และ anti-B ของกลุ่มตัวอย่างจํานวน 16 ราย ที่มีหมู่เลือด A, B และ O ก่อนและหลังการบร ...
  • ศราวุธ สุทธิรัตน์; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; ศันสนีย์ ตันติ์จธัม (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2004)
    การตรวจหาแอนติบอดี ต่อเชื้อเลปโตสไปรา โดยวิธีอินไดเรคอิมมูโนฟลูออเรสเซนต์ที่พัฒนาขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับผลตรวจโดยวิธีอินไดเรคอิมมูโนฟลูออเรสเซนต์ จากศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์พิษณุโลก พบว่ามีความไว ความจำเพา ประสิทธิภาพ ...
  • เพ็ญนภา ชมะวิต; ภาณุพงศ์ สหายสุข; นันทวดี เนียมนุ้ย; Pennapa Chamavit; Panupong Sahaisook; Nunnthawadee Niamnuy (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2009)
    แมลงสาบมีการกระจายอยู่ทั่วโลก แหล่งกำเนิดอยู่ในเขตร้อน ชอบออกหากินในเวลากลางคืน ส่วนมากแมลงสาบจะกินและถ่ายอุจจาระออกมาตลอดทางที่เคลื่อนที่ แมลงสาบเกี่ยวข้องกับการเป็นพาหะของโรคปรสิตในเขตร้อน วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ ...
  • วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; พัชรี กัมมารเจษฎากุล; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; พรทิพย์ พึ่งม่วง; สมหญิง งามอุรุเลิศ; เมธี ศรีประพันธ์; สุชาดา ยางเอน; วีรชัย สุทธิธารธวัช (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    สมุนไพรจีนเป็นการแพทย์แผนทางเลือกที่กาลังเป็นที่นิยมในปัจจุบัน แต่ยังขาดข้อมูลความปลอดภัยในการบริโภค งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปนเปื้อนโลหะหนัก จุลินทรีย์และอะฟลาทอกซินในสมุนไพรจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย 5 ...
  • ศราวุธ สุทธิรัตน์; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; บุณนิภา สุวรรณกาล; อำไพ ตั้งอนุชิตชาญชัย (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2013)
    ทําการตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM ต่อแอนติเจนของเชื้อ Leptospira interrogans, Burkholderia pseudomallei และ Orientia tsutsugamushi ที่เคลือบแยกชนิดบนสไลด์หลุมเดียวกันด้วยวิธีอินไดเร็คอิมมูโนฟลูออเรสเซนต์เพื่อตรวจกรองโรคทั้งส ...
  • สราวุธ สายจันมา; อุมาพร ทรัพย์เจริญ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 1998)
    การวิจัยนี้เป็นการศึกษานำร่องในการใช้ค่าชี้วัดทางโลหิตวิทยาที่ได้จากเครื่องนับเซลล์อัตโนมัติในงานประจำ เพื่อเป็นวิธีตรวจกรองพาหะของธาลัสซีเมียชนิดแอลฟา ในทารกแรกเกิดก่อนที่จะทำการตรวจยืนยันโดยวิธีมาตรฐานต่อไป ซึ่งการตรวจ ...
  • ชมพูนุท สินธุพิบูลยกิจ; ทินกร เพิ่มพงศ์ไพบูลย์; สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์; Chompunoot Sinthupibulyakit; Thinnakorn Permpongpaiboon; Sureerut Porntadavity (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    การกระจายตัวของยีนพาราออกโซเนส 1 ในกลุ่มตัวอย่างประชากรไทย Paraoxonase1 (PON1) เป็นเอนไซม์ที่ถูกสังเคราะห์ที่ตับและไตถูกหลั่งออกมาในพลาสมาและจับกับ high-density lipoprotein (HDL) มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระโดย hydrolyze ...
  • ชลันดา กองมะเริง; เกษร คำแก่น (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    แอนติบอดีต่อแอนติเจนนิวโทรฟิล (Human Neutrophil Antigens; HNAs) มีบทบาทสำคัญในการเกิดภาวะ immune-mediated neutropenia และ antibody-mediated transfusion related acute lung injury (TRALI) การตรวจหาแอนติเจน HNA มีความสำคัญต ...
  • ทินกร เพิ่มพงศ์ไพบูลย์; สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2010)
    เอนไซม์ paraoxonase 2 (PON2) สามารถพบได้ทั่วไปในเนื้อเยื่อต่างๆ โดยทำหน้าที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระในการลดภาวะ oxidative stress ภายในเซลล์และรอบๆ เซลล์ซึ่งสามารถยับยั้ง lipid peroxidation ของ oxidized-low density lipoprotein ...
  • Panthip Rattanasinganchan; Rutaiwan Tohtong; ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ; ฤทัยวรรณ โต๊ะทอง (Huachiew Chalermprakiet University, 2011)
    มะเร็งท่อน้ำดีคือมะเร็งตับชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากเซลล์อิพิทีเรียลบริเวณท่อทางเดินน้ำดี อุบัติการของมะเร็งท่อน้ำดีพบมากทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะประเทศไทย ปัจจุบันมะเร็งท่อน้ำดีกลายเป็นปัญหาที่สำคัญทางสาธารณสุขเนื่องจ ...
  • ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ; ฤทัยวรรณ โต๊ะทอง (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    มะเร็งท่อน้ำดีเป็นมะเร็งที่เกิดขึ้นที่บริเวณท่อทางเดินน้ำดี มีความสัมพันธ์กับการอักเสบเรื้อรังจากการติดเชื้อพยาธิที่ตับ ทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟาเป็นไซโตไคน์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบซึ่งหลังจากแมคโครเฟจและเซลล์มะเร็ง ...
  • พรทิพย์ พึ่งม่วง; พจมาน ผู้มีสัตย์; สุทัศน์ บุญยงค์ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2010)
    Vibrio parahaemolyticus เป็นสาเหตุสําคัญของโรคอาหารทะเลเป็นพิษ การจําแนกสายพันธุ์ของเชื้อจึงเป็นสิ่งจําเป็นเพื่อประโยชน์ทางด้านการศึกษาระบาดวิทยา รวมถึงการควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ การวิจัยครังนี้ศึกษาการจําแ ...
  • พัชรี กัมมารเจษฎากุล; จิดาภา เซคเคย์; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; อริยา จินดามพร (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    ยาดมสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากธรรมชาติและได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย แต่การศึกษาเกี่ยวกับยาดมสมุนไพรกับการปนเปื้อนเชื้อรายังมีน้อยมาก ดังนั้นคณะผู้วิจัยทำการตรวจหาชนิดของเชื้อราปนเปื้อนจากยาดมสมุนไพรที่มีจำหน่ายอยู่ในท้องตลาด ...
  • สมหญิง งามอุรุเลิศ; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; สุมลรัตน์ ชูวงษ์วัฒนะ; ประเสริฐ เอื้อวรากุล (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    การติดเชื้่อไวรัสตับอักเสบบีเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลก มีผู้ติดเชื้อเป็นพาหะที่สามารถแพร่เชื้อต่อไปยังผู้อื่นได้ ประเทศไทยมีความชุกของไวรัสตับอักเสบบีสูงเช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ การวิจัยครั้งนี้ได้ทำการศึกษาความช ...
  • อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; ภาณุพงศ์ สหายสุข; จิราภรณ์ เรืองสิทธิชัย; สุชาดา สำรวยผล; พัชรา ศรีวิชัย; สังสิทธิ์ สังวรโยธิน; ชำนาญ อภิวัฒนศร; Issaya Janwittayanuchit; Panupong Sahaisook; Jiraporn Ruangsitthichai; Suchada Sumruayphol; Patchara Sriwichai; Sungsit Sungvoorayothin; Chamnarn Apiwathnasorn (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    การวิจัยนี้เป็นการพัฒนาวิธี DNA barcodes เพื่อนำมาใช้ในการจำแนกชนิดของแมลงสาบเปรียบเทียบกับวิธีสัณฐานวิทยาซึ่งเป็นวิธีมาตรฐาน โดยทำการจำแนกแมลงสาบจำนวน 12 ชนิด แบ่งเป็นแมลงสาบที่ทราบชนิดจำนวน 10 ชนิด และแมลงสาบที่ไม่ทราบชนิดอีก ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account