Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1079
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรพินท์ สีขาว-
dc.contributor.authorชนิกา เจริญจิตต์กุล-
dc.contributor.authorกันยา สุวรรณคีรีขันธ์-
dc.contributor.authorOrapin Sikaow-
dc.contributor.authorChanika Jaroenkitkul-
dc.contributor.authorKanya Suvankereekhun-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.date.accessioned2023-01-21T12:21:08Z-
dc.date.available2023-01-21T12:21:08Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1079-
dc.description.abstractการวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล สภาพแวดล้อมของสถาบัน ความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง กับสมรรถนะด้านความรู้เชิงวิชาชีพของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และตัวแปรที่ร่วมพยากรณ์สมรรถนะด้านความรู้เชิงวิชาชีพของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาชั้นปีที่ 1 2 และ 3 จำนวน 413 คน ปีการศึกษา 2549 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล สภาพแวดล้อมของสถาบัน ความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีค่าความเที่ยงตรงเท่ากับ .952 และ 2) แบบทดสอบสมรรถนะด้านความรู้เชิงวิชาชีพของนักศึกษา ทั้ง 3 ชั้นปี มีค่า KR-20 เท่ากับ .699 .744 และ .648 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. นักศึกษาทั้ง 3 ชั้นปี ส่วนใหญ่มีผลการเรียนคะแนนเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ ระดับ 2.51 – 2.99 คือร้อยละ42.47 45.64 และ 47.75 ตามลำดับชั้นปี 2. นักศึกษาทั้ง 3 ชั้นปี มีคะแนนเฉลี่ยรวมด้านเจตคติต่อวิชาชีพ สภาพแวดล้อมทางด้านอาจารย์ สภาพแวดล้อมทางด้านเพื่อน สภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพ ความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองอยู่ในระดับมาก 3. นักศึกษาทั้ง 3 ชั้นปีมีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมผลการสอบสมรรถนะด้านความรู้เชิงวิชาชีพของนักศึกษา 50.77 โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 3 มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุด และสามารถสอบผ่านเกณฑ์ได้มากกว่าชั้นปีที่ 2 และ 1 ตามลำดับ 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับสมรรถนะด้านความรู้เชิงวิชาชีพของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (r=.565) สภาพแวดล้อมทางกายภาพมีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับสมรรถนะด้านความรู้เชิงวิชาชีพของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (r= .173) 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสามารถทำนายสมรรถนะด้านความรู้เชิงวิชาชีพของนักศึกษาได้ร้อยละ 31.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.description.abstractThe purposes of this descriptive research were to study of personal factors , university environment , self-directed learning readiness and professional knowledge of nursing students and the relation of these factors to the prediction of professional knowledge . The subjects consisted of 413 nursing students of the 1-3 years in 2006 of the Faculty of Nursing , Huachiew Chalermprakiet University. Research instruments were 1) questionnaires about personal factors , university environment and their self-directed learning readiness and 2) the professional knowledge tests for each class of nursing students. The reliability of the questionnaires test by Alpha Chronbach Coefficient were at .952 , KR-20 of the tests were .699 .744 and .648 respectively . Data were analyzed by using the Pearson’s Product Moment Correlation and Multiple Correlation and Regression. The results showed that : 1. The three classes of nursing students were mostly standed in the range of the cumulative GPA 2.51 – 2.99. 2. The total mean scores of professional attitude , university environment (instructors , friends , physical environment) self-directed learning readiness were at high level in the three classes of nursing students 3. The total mean score of professional knowledge of the three classes of nursing students were 50.77 and found that the mean score of the third year student was highest . 4. The cumulative GPA and the university environment were found to be statistically significant related to the professional knowledge of nursing students at .01. The cumulative GPA was moderately positive relation but the university environment was slightly negative relation to the professional knowledge of the nursing students . (r=.565 and r= .173 respectively ) 5. When using the stepwise multiple regression model in order to predict the professional knowledge of nursing students , it was found that the cumulative GPA could predict the professional knowledge of the nursing students at 31.80 percent with statistic significant at .01th
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2550th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะพยาบาล -- นักศึกษาth
dc.subjectHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nuursing -- Studentsth
dc.subjectนักศึกษาพยาบาลth
dc.subjectNursing studentsth
dc.subjectการศึกษาด้วยตนเองth
dc.subjectSelf-cultureth
dc.subjectสภาพแวดล้อมทางการเรียนth
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล สภาพแวดล้อมของสถาบัน ความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองกับสมรรถนะด้านความรู้เชิงวิชาชีพของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.title.alternativeRelationships between Personel Factors, Self-directed Learning Readiness, University Environment and Professional Knowledge of Nursing Student Faculty of Nursing, Hauchiew Chalermprakiet Universityth
dc.typeTechnical Reportth
Appears in Collections:Nursing - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf148.95 kBAdobe PDFView/Open
TableofContents.pdf142.41 kBAdobe PDFView/Open
chapter1.pdf120.95 kBAdobe PDFView/Open
chapter2.pdf268.69 kBAdobe PDFView/Open
chapter3.pdf200.87 kBAdobe PDFView/Open
chapter4.pdf627.28 kBAdobe PDFView/Open
chapter5.pdf210.25 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.