Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/687
Title: 牡丹《南风吹梦》与谢冰心《寄小读者》比较研究
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบนิยายของ "โบตั๋น" เรื่อง "จดหมายจากเมืองไทย" และ "ปิงซิน" เรื่อง "แด่นักอ่านรุ่นเยาว์"
A Comparative Study of Botan's Fiction "The Letter from Thailand" and Bing Xin's "Sent to the Young Readers"
Authors: 王建设
หวัง, เจี้ยนเซ่อ
Wang, Jianshe
陈彬
ภัทราพร โชคไพบูลย์
Keywords: วรรณคดีเปรียบเทียบ
Comparative literature
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
โบตั๋น
ปิงซิน
牡丹
谢冰心
比较文学
内容分析
Issue Date: 2011
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: 本文将对泰中两国两位现代文学作品进行比较研究。牡丹被称为泰国现代文学文坛有较高声望的女作家之一;谢冰心则是中国现代文学儿童文学的开拓者。对牡丹《南风吹梦》与谢冰心《寄小读者》的比较研究。虽然这两部作品都是书信体, 描写到母爱、故乡、祖国,但在目的上;谢冰心以对儿童教养的“爱、美、善”为价值,牡丹反映其从中国大陆搬迁到泰国后对文化、传统、风俗及习惯状况的看法,这是两部作品的不同点。本文将以对比研究方法进行。第一章重点研究牡丹及其《南风吹梦》;《南风吹梦》的创作背景、《南风吹梦》的主要内容。第二章研究冰心及其《寄小读者》;《寄小读者》的创作背景、《寄小读者》的主要内容。第三章比较分析牡丹《南风吹梦》与谢冰心《寄小读者》的体裁内容、主题思想、艺术手法。本文将以对比研究方法表现现代文学现实主义作品的社会意义与《寄小读者》中的母爱、故乡、祖国的意义。在体裁内容、主题思想、艺术手法方面通过研究表现中不同的文学特点及其社会意义。
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นวิทยานิพนธ์ที่ศึกษาเปรียบเทียบผลงานของโบตั๋น ผู้ได้รับการขนามนามว่านักเขียนหญิงผู้โด่งดังแห่งวงการวรรณคดีสมัยใหม่ของไทยและปิงซิน (Bing Xin) ผู้บุกเบิกวรรณกรรมสำหรับเด็กของวรรณคดีสมัยใหม่ของจีน ผู้เขียนได้ศึกษาเปรียบเทียบผลงานของผู้เขียนทั้งสองท่านในเรื่อง “จดหมายจากเมืองไทย” และเรื่อง “แด่นักอ่านรุ่นเยาว์” ซึ่งเป็นผลงานวรรณกรรมในรูปแบบจดหมายที่บรรยายถึง ความรักและความคิดถึงถึงแม่ ครอบครัว และความสำนึกรักในประเทศบ้านเกิด เหมือนกัน แต่มีจุดมุ่งหมายที่เขียนแตกต่างกัน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้วิเคราะห์และเปรียบเทียบวรรณกรรมทั้งสองเรื่อง โดยแบ่งเป็นสามบทคือ บทที่ 1 เป็นการวิเคราะห์นักเขียนและนวนิยายเรื่อง “จดหมายจากเมืองไทย” ในด้านอัตชีวประวัติ ภูมิหลังในการสร้างงานประพันธ์ และใจความสำคัญของนวนิยาย บทที่ 2 เป็นการวิเคราะห์นักเขียนและนวนิยายเรื่อง “แด่นักอ่านรุ่นเยาว์” ในด้านอัตชีวประวัติ ภูมิหลังในการสร้างงานประพันธ์ และใจความสำคัญของนวนิยาย บทที่ 3 ศึกษาและเปรียบเทียบ รูปแบบวรรณกรรมของเนื้อหา แนวคิดสำคัญของผลงานและเทคนิคการประพันธ์ของทั้งสองเรื่อง จากการศึกษาเปรียบเทียบแสดงให้เห็นถึงคุณค่าทางสังคมเชิงสัจจนิยมในวรรณคดีสมัยใหม่ของไทย ความรักที่มีต่อแม่ ครอบครัว และมาตุภูมิ ที่ต้องการสื่งถึงนักอ่านตัวน้อย โดยสะท้อนมาจากนวนิยายทั้งสองเรื่องนี้ ในขณะเดียวกันจากการศึกษารูปแบบของการประพันธ์ยังแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างทางผลงานวรรณกรรมและนัยทางสังคมที่แตกต่างของประเทศจีนและไทย
The purpose of this paper is to compare Botan’s fiction The letters from Thailand and Bing Xin’s fiction Send to the young readers. Bing Xin is the writer who pioneers children literacy of China. Botan is known as one of Thailand’s famous female writer of modern literacy. Both fictions express loving and missing mother, family, also hometown. However, the purposes of both fictions are different. This paper compares and analyzes on the works in the way which is called “Parallel research” This is divided into 3 chapters, the first and the second chapter focuses on the writers’ bibliographies, their methods of literary creation ways, and the main idea of The letters from Thailand and Send to the young readers respectively. The third chapter focuses on writing styles, the outstanding language, metaphor and analogy, also the similarities and differences between “The letters from Thailand and Send to the young readers”. The result shows the social value in realism way of modern literature. Moreover, love for mother and family through young readers are reflected both fictions. Meanwhile the pattern and special characteristics of writing also show the two works’ literary value and social meaning in the different cultural and ethical backgrounds of China and Thailand.
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2011
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/687
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf452.19 kBAdobe PDFView/Open
Table of contents.pdf292.94 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf345.76 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf
  Restricted Access
323.69 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
Chapter3.pdf
  Restricted Access
379.62 kBAdobe PDFView/Open Request a copy
References.pdf367.17 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.