DSpace Repository

Browsing วิทยาลัยจีนศึกษา by Author "Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies"

Browsing วิทยาลัยจีนศึกษา by Author "Huachiew Chalermprakiet University. College of Chinese Studies"

Sort by: Order: Results:

  • Fu Feiliang; Pornpan Juntaronanon; Tanes Imsamran; Tian Ye; พรพรรณ จันทโรนานนท์; 刘丽芳; ธเนศ อิ่มสำราญ; 尹士伟; 付飞亮; 田野 (2020)
    The spread of Chinese TV series in Thailand has experienced more than 40 years of development, and each period presents different development characteristics. This paper clears up the history and current situation of the ...
  • 舒莹畅; ศราณี ศรีสำโรง; Saranee Sreesumrong (Huachiew Chalermprakiet University, 2019)
    ด้วยการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของ "กระแสนิยมภาษาจีน" การสอนภาษาจีนในประเทศไทยกำลังพัฒนาอย่างรวดเร็วภาษาจีนจะเป็นหนึ่งในภาษาที่นิยมมากที่สุดในโลกอนาคต โดยรู้จักกันดีว่า จีนเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลกจะเห็นคนจีนได้ในหลายๆ ...
  • ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ; Thumwadee Siripanyathiti; 刘淑莲 (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2019)
    การวิจัยเรื่อง “การคงอยู่และการเปลี่ยนแปลงของเพลงกล่อมเด็กภาษาจีนของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดสมุทรปราการ” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเนื้อหาของเพลงกล่อมเด็กภาษาจีนของชาวไทยเชื้อสายจีน และ2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการคงอย ...
  • ธเนศ อิ่มสำราญ; สายฝน วรรณสินธพ; กิติกา กรชาลกุล; สุวัฒน์ เพียรพาณิชย์สกุล; เบญจวรรณ ศิริคันธรส; Thanet Imsamran; Saiphon Wunnasinthop; Kitika Karachalkul; Suwat Pianpanichskul; Benjawan Siricantarot; 尹士伟; 张曼倩; 王燕琛; 夏建兴; 罗玉香 (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2021)
    การวิจัยประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน (หลักสูตรปรับปรุง 2564) มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยมีดังนี้ 1) เพื่อวิเคราะห์หลักสูตรและประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาหลักสูตรในบริบท (Context) ได้แก่ ...
  • ธเนศ อิ่มสำราญ; ไพศาล ทองสัมฤทธิ์; กิติกา กรชาลกุล; ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ; ศิริเพ็ญ กำแพงแก้ว; จันทิมา จิรชูสกุล; ณัฐรัตน์ วงศ์พิทักษ์; Thanet Imsamran; Phaisan Thongsamrit; Kitika Karachalkul; Thumwadee Siripanyathiti; Siriphen Kamphangkaew; Chanthima Chirachoosakul; Nattarat Wongpitak; 尹士伟; 陈慕贤; 王燕琛; 刘淑莲; 姚倩儒; 周美华; 张海燕 (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2011)
    การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2549 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยประเมินหลักสูตรใน 5 ด้าน 1. ความเหมาะสมของโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตร ...
  • ธันฐกรณ์ สังขพิพัฒธนกุล; นริศ วศินานนท์; รัตนา จันทรสารโสภณ; กิติกา กรชาลกุล; ศิริเพ็ญ กำแพงแก้ว; Thantakron Sangkapipattanakul; Naris Wasinanon; Ratana Jantarasarsophon; Kitika Karachalkul; Siriphen Kamphangkaew; 杨光宝; 何福祥; 黄友华; 王燕琛; 姚倩儒 (2018)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน ได้ทำการวิจัยประเมินหลักสูตรโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีนในด้านบริบทของหลักสูตร ด้านปัจจัยนำเข้า ...
  • จรัสศรี จิรภาส; สุกัญญา วศินานนท์; นริศ วศินานนท์; ธเนศ อิ่มสำราญ; กิติกา กรชาลกุล; ธุมวดี สิทธิโชคเหล่าทอง; สายฝน วรรณสินธพ; Charassi Jiraphas; Sukanya Wasinanon; Naris Wasinanon; Thanet Imsamran; Kitika Karachalkul; Thumwadee Sitthichoklaotong; Saiphon Wunnasinthop; 谢玉冰; 黄如侬; 何福祥; 尹士伟; 王燕琛; 刘淑莲; 张曼倩 (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2008)
    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2544 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ความเหมาะสมของโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตร 2) ...
  • ธันฐกรณ์ สังขพิพัฒธนกุล; รัตนา จันทรสารโสภณ; เบญจวรรณ ศิริคันธรส; เทพี แซ่มัด; กิติกา กรชาลกุล; Thantakron Sangkapipattanakul; Ratana Jantarasarsophon; Benjawan Siricantarot; Thephi Saemat; Kitika Karachalkul; 杨光宝; 黄友华; 罗玉香; 麦春梅; 王燕琛 (2022)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน ได้ทําการวิจัยประเมินหลักสูตรโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาและวัฒนธรรมจีนในด้านบริบทของหลักสูตรด้านปัจจัยนําเข้า ...
  • ธันฐกรณ์ สังขพิพัฒธนกุล; นริศ วศินานนท์; รัตนา จันทร์สารโสภณ; กิติกา กรชาลกุล; ศิริเพ็ญ กำแพงแก้ว; Thantakron Sangkapipattanakul; Naris Wasinanon; Ratana Jantarasarsophon; Kitika Karachalkul; Siriphen Kamphangkaew; 杨光宝; 何福祥; 黄友华; 王燕琛; 姚倩儒 (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2017)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน ได้ทำการวิจัยประเมินหลักสูตรโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาและวัฒนธรรมจีนในด้านบริบทของหลักสูตร ด้านปัจจัยนำเข้า ...
  • นริศ วศินานนท์; สุกัญญา วศินานนท์; Naris Wasinanon; 何福祥; Sukanya Wasinanon; 黄如侬 (2021)
    บทความนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบระบบความหมายของคำในภาษาจีนและภาษาไทย โดยศึกษาจาก คำกริยาพยางค์เดียวที่มีความหมายเกี่ยวกับการมองดู มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างเชิงอัตลักษณ์และ ความเหมือนเชิงนัยทั่วไปของระบบความหมาย ...
  • รัตนา จันทรสารโสภณ; 黄友华; Ratana Jantarasarsophon (2019)
    "ก้วย" (粿) เป็นอาหารรับประทานเล่นมีประวัติยาวนาน และมีความสำคัญทางด้านวัฒนกรรมการกินอย่างหนึ่งอของชาวแต้จิ๋ว อีกทั้งยังมีความผูกพันใกล้ชิดกับวิถีชีวิตของชาวจีนแต้จิ๋ว ชาวจีนแต้จิ๋วได้รู้จักวิธีนำธัญพืชในท้องถิ่นมาทำเป็นแ ...
  • รัตนา จันทรสารโสภณ; กิติกา กรชาลกุล; Ratana Jantarasarsophon; Kitika Karachalkul; 黄友华; 王燕琛 (2021)
    ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอารยธรรมและวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมายาวนานนับพันปี“กี่เพ้า” หรือ “ฉีผาว (旗袍)” ในภาษาจีนกลาง มาจาก “旗”ที่แปลว่า ธง และ“袍”ที่แปลว่า ชุดเสื้อคลุมยาว แต่ในประเทศไทยจะออกเสียงเป็น “ กี่เพ้า ” ...
  • ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ.; ศิริเพ็ญ กำแพงแก้ว; จันทิมา จิรชูสกุล; Thumwadee Siripanyathiti; Siriphen Kamphangkaew; Chanthima Chirachoosakul; 刘淑莲; 姚倩儒; 周美华 (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการเรียนการสอนภาษาจีน องค์ความรู้ทางภาษาจีนของนักเรียน และตํารา/แบบเรียนที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนภาษาจีน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนศิลป์ภาษาจีนในเขตภาคตะวันออกของไทย ...
  • นริศ วศินานนท์; Naris Wasinanon; 何福祥 (2022)
    บทความนี้เป็นการอธิบายปัญหาของการเรียนการสอนอักษรจีนของคนไทย เพื่อเข้าใจถึงประเด็นปัญหาต่างๆเกี่ยวกับการเรียนการสอนอักษรจีนและเสนอแนวทางพัฒนาการเรียนการสอนอักษรจีนในประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ปัญหาของการเรียน ...
  • ธันฐกรณ์ สังขพิพัฒธนกุล; Thantakron Sangkapipattanakul; 杨光宝 (2021)
    วัฒนธรรมแต้จิ๋วเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมจีนที่มีเอกลักษณ์พิเศษเฉพาะตน ชาวจีนแต้จิ๋วเป็นกลุ่มชาวจีนอพยพที่มีจํานวนประชากรมากที่สุดในประเทศไทย ทําให้วัฒนธรรมของชาวจีนแต้จิ๋วกลายเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมจีนทั้งหมดในการรับรู้ของค ...
  • นริศ วศินานนท์; Naris Wasinanon; 何福祥 (2019)
    บทความนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของอักษระประสมแบบบอกรูปและเสียง ( 形声字) เป็นอักษรประสมที่ประกอบด้วยส่วนบอกรูป (ความหมาย) และส่วนบอกเสียง (เสียงอ่าน) สองส่วน ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการสร้างอักษรจีน 6 ชนิด ( 六书) ...
  • นริศ วศินานนท์; สุกัญญา วศินานนนท์; Naris Wasinanon; Sukanya Wasinanon; 何福祥; 黄如侬 (2017)
    บทความนี้เป็นการวิเคราะห์รูปแบบคำย่อสองพยางค์ในภาษาจีนปัจจุบัน ซึ่งย่อมาจากคำเดิม 4 พยางค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างของคำศัพท์ (วลี) เดิมและโครงสร้างของคำย่อสองพยางค์ การเรียงลำดับของคำในคำศัพท์ (วลี) เดิมและคำย่อสองพยางค์ ...
  • พรพรรณ จันทโรนานนท์; พัชรินรุจา จันทโรนานนท์; Pornpan Juntaronanon; Patcharinruja Jantaronanont; 刘丽芳 (2019)
    บทความวิจัยนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อต่อยอดจากงานวิจัยเรื่อง "ความเชื่อเรื่องศาสนาพุทธมหายาน และศาสนาเต๋า ของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดสมุทรปราการ : มุมมองจากโรงเจ" และเพื่อศึกษาความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการแพร่กระจายของค ...
  • ไพศาล ทองสัมฤทธิ์; วิชญากร ศรีวิภากุล; ธนดล จิรสันติวงศ์; มนัสนันท์ ฉัตรเวชศิริ; เบญจวรรณ ศิริคันธรส; ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ; กิติกา กรชาลกุล; จันทิมา จิรชูสกุล; สุวัฒน์ เพียรพาณิชย์สกุล; สายฝน วรรณสินธพ; ธเนศ อิ่มสำราญ; Phaisan Thongsamrit; Vichayakorn Srivipakul; Tanadon Jirasantiwong; Manatsanan Chatwechsiri; Benjawan Siricantarot; Thumwadee Siripanyathiti; Kitika Karachalkul; Chanthima Chirachoosakul; Suwat Pianpanichskul; Saiphon Wunnasinthop; Thanet Imsamran; 陈慕贤; 黄佛明; 谢业辉; 蔡彩凤; 罗玉香; 刘淑莲; 王燕琛; 周美华; 夏建兴; 张曼倩; 尹士伟 (2019)
    ในโลกยุคดิจิตอล ความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและเครื่องมือสื่อสาร นับเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาสังคมและการใช้ชีวิตประจำวันเพื่อให้ก้าวทันโลกดิจิตอลที่เดินรุดหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง การศึกษาเป็นเสาหลักสำคัญของการพัฒนาประเทศ ...
  • 杨光彩; รัติพร แสงศรี; Rattiporn Saengsri (Huachiew Chalermprakiet University, 2023)
    ปัจจุบันมีงานวิจัยเกี่ยวกับบริษัท Huawei (ประเทศไทย) เพียงเล็กน้อยและจะเกี่ยวกับการพัฒนาเทคโนโลยีของบริษัทเท่านั้น แม้ว่าจะมีการศึกษาที่เน้นการจัดการของบริษัท Huawei (ประเทศไทย) ในด้านการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบริษัท Huawei ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account