DSpace Repository

Browsing Pharmaceutical Sciences - Theses by Author "Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences"

Browsing Pharmaceutical Sciences - Theses by Author "Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences"

Sort by: Order: Results:

  • Chanuttha Sak-Aiem; ชณัฎฐา ศักดิ์เอี่ยม (Huachiew Chalermprakiet University, 2016)
    In this research,three ester derivatives of cinnamoc acid and benzendiol were synthesized via eseriification reaction between cinnamic acid with excess oxalyl chloride and benzenediol. The derivatives were purified by ...
  • Pathamaporn Chuetee; ปฐมาภรณ์ เชื้อตี (Huachiew Chalermprakiet University, 2015)
    วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อคัดเลือกสารลดแรงตึงผิวชนิดไม่มีประจุที่มีศักยภาพในการเตรียม และศึกษาปัจจัยที่เหมาะสมที่มีผลต่อลักษณะและความคงตัวของเควอร์ซิตินนิโอโซม เมื่อเตรียมโดยวิธีโปรนิโอโซมเจล สารลดแรงตึงผิวไม่มีประจ ...
  • Suwit Khajitkhajonwong; สุวิทย์ ขจิตขจรวงศ์ (Huachiew Chalermprakiet University, 2016)
    This study was to determine the use of Plai oil, the oily active substance, as oil phase in microemulsion preparation and to investigate the effect of indomethacin on the in vitro permeation characteristic of Plai oil ...
  • ชญานี วงศ์แหลมทอง; Chayanee Wonglamthong (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2017)
    น้ำมันหอมระเหยมีความไม่คงตัวและสลายตัวได้ง่ายในที่ที่มีออกซิเจน แสงแดด และอุณหภูมิ ไลโปโซมที่บรรจุน้ำมันหอมระเหยคาดว่าสามารถลดการระเหยและเพิ่มความคงตัวให้กับน้ำมันหอมระเหยได้ ในการศึกษาครั้งนี้เบื้องต้นได้มีการศึกษาฤทธิ์ ...
  • ปุณณ์นิษฐา บุปผาธนรัชต์; Punnidtha Bupphatanarat (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2020)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ของสมุนไพรทั้งหมด 5 ชนิด คือ เปลือกอบเชย ใบพลู รากชะเอมเทศ เหง้าขิงและข่า และนำสารสกัดที่มีฤทธิ์ดีที่สุดไปทดสอบประสิทธิภาพในการเป็นสารกันเสียในผลิตภัณฑ์เครื่องสำ ...
  • จุฑามาศ อุทุมภา; Chutamas Uthumpa (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2013)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความคงตัวของ 6-Gingerol ซึ่งเป็นสารสำคัญในสารสกัดขิงโดยพัฒนาในรูปแบบตำรับนาโนอิมัลชันและประเมินประสิทธิภาพของตำรับในการลดเซลลูไลท์ โดยเริ่มจากการศึกษาวิธีสกัดและชนิดตัวทำละลายที่เหมาะสม ...
  • ชุติมา บุญรัตน์; Chutima Boonrat (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความคงตัวของ α-mangostin ซึ่งเป็นสารสำคัญในสารสกัดเปลือกมังคุด (Garcinia mangostana L.) โดยพัฒนาในรูปแบบตำรับไมโครอิมัลชัน โดยเริ่มจากการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการสกัด 3 วิธี (การหมัก ...
  • อัจฉราภรณ์ สิงห์หาญ; Aujsharaporn Singhan (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพิ่มความคงตัวของสารคาเทชิน ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักที่พบในสารสกัดชาเขียว (Camellia sinesis) โดยพัฒนาในรูปแบบตำรับไมโครอิมัลชัน โดยศึกษาผลของอุณหภูมิ (80 และ 100 °C) เวลา (15 และ 30 นาที) และตัวทำละลาย ...
  • ทัตชกร ปิ่นเขียน; Tatchakorn Pinkhien (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อพัฒนานาโนอิมัลชันชนิดน้ำในน้ำมัย (water in oil; w/o) ที่เตรียมโดยใช้เทคโนโลยีไมโครอิมัลชัน สำหรับกักเก็บและนำส่งสารสกัดเมล็ดองุ่นไทย ซึ่งอุดมไปด้วยสารพฤกษเคมีในกลุ่ม oligomeric proanthocyanidin ...
  • พรพรรณ ลีลาอุดมลิปิ; Pornphan Leelaudomlipi (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2021)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดไวโอลาซีนในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อสิว โดยศึกษาประสิทธิภาพในการยับยั้งแบคทีเรีย 3 สายพันธุ์ ได้แก่ Cutibacterium acnes ATCC 6919, Staphylococcus aureus ATCC 6538 ...
  • จริยาพร พุ่มสกุล; Jariyaporn Pumsakul (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    การปลดปล่อยและความคงตัวของไนอาซิไมด์และคาเฟอีนจากตำรับทาผิว 4 ชนิด ซึ่ง ได้แก่ เจล วานิชชิ่งครีม ไฮโดรฟิลิกอิมัลชั่นและโคล์ดครีม ได้ถูกตรวจสอบ การศึกษาการปลดปล่อยของสารสำคัญทำโดยใช้ Franz-type diffusion cells เจลเป็นตำรั ...
  • ชนิกัณดา เทสสิริ; Chanikanda Tessiri (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2021)
    แมงจิเฟอรินเป็นโพลีฟีนอลของ ซี-ไกลโคซิลแซนโธน ที่มีค่าการละลายน้าต่า ในการศึกษานี้มีการสกัดสารแมงจิเฟอรินจากใบมะม่วงพันธุ์น้าดอกไม้ที่ปลูกในจังหวัดสมุทรปราการ ได้ผลผลิต ได้ร้อยละ 3.17 มีความบริสุทธิ์ร้อยละ 94.24 (วิเคราะห์ด้วย ...
  • กฤศกัญญา เบญจาธิกูล; Kitkanya Benjatikul (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2019)
    การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางเคมี กายภาพ และการป้องกันแสงแดดของดินสอพอง และตำรับครีมกันแดด ที่มีส่วนผสมของดินสอพองที่ผ่านการบดอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาตั้งแต่ 0 ถึง 48 ชั่วโมง ผลการศึกษาพบว่า ดินสอพองประ ...
  • สุพรรณี ทิพนี; Supannee Tipnee (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2017)
    ไข่น้ำ (Wolffia globosa) เป็นพืชดอกในวงค์ Lemnaceae ที่สามารถนำมาประกอบอาหารสำหรับมนุษย์ มีสารอาหารสูงโดยเฉพาะโปรตีน ถูกนำมาใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์และใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ อย่างไรก็ตามข้อมูลทางด้านองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ ...
  • เกศระวี ปานทับ; Ketrawee Pantub (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2017)
    วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ การเตรียมนาโนพาร์ทิเคิลไขมันบรรจุกรดซาลิซิลิก โดยใช้การออกแบบการทดลองทางสถิติด้วยวิธีบ็อกซ์-เบห์นเคน ทำการศึกษาตัวแปรอิสระสามตัวแปรที่จะทำให้นาโนพาร์ทิเคิลไขมันมีอนุภาคขนาดเล็กที่สุด ...
  • นภัสสร ราชรินทร์; Naphutsorn Ratcharin (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2012)
    นาโนพาร์ทิเคิลไขมันแข็งซึ่งนิยมนำมาใช้เป็นระบบนำส่งยาทางผิวหนัวมีอนุภาคขนาด 1-1000 นาโนเมตร การเก็บกักสารสำคัญในอนุภาคไขมันแข็งสามารถช่วยเพิ่มความคงตัวของสารนั้นได้ 6-จินเจอรอล เป็นสารสำคัญในสารสกัดขิง ซึ่งไม่มีความคงตัว ...
  • โชติรส กิจสมชีพ; Chotirod Kitsomchip (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2022)
    กระชายและกาแฟสายพันธุ์โรบัสต้าเป็นสารธรรมชาติที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพของมนุษย์ และใช้เป็นยาพื้นบ้านในหลายส่วนของโลก ได้ทำการศึกษาประสิทธิภาพของเทคนิคการสกัดและตัวทำละลายที่ใช้ในสกัดพืชทั้งสองชนิดที่ให้ปริมาณสารประกอบฟีนอลิ ...
  • มัลลิกา ปัสสาโก; Mallika Passago (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2017)
    น้ำมันหอมระเหยถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทั้งทางยาและเครื่องสำอาง อย่างไรก็ตามองค์ประกอบของน้ำมันหอมระเหยง่ายต่อการระเหยและสลายตัวเมื่อถูกแสง ออกซิเจน และอุณหภูมิสูง จึงเป็นข้อจำกัดในการนำน้ำมันหอมระเหยไปใช้ ด้วยเหตุนี้จึงทำ ...
  • ฐิตารีย์ ลักษณ์สุวงศ์; Dhitaree Luxsuwong (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    ไลโคปีนเป็นสารแคโรทีนอยด์มีโครงสร้างประเภทชอบไขมันซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพในระบบป้องกันทางในผิวหนัง เนื่องจากไลโคปีนไม่คงสภาพภายใต้แสงและน้ำ ในการศึกษานี้ ได้ทำการแยกไลโคปีนจากมะเขือเทศและพัฒนาระบบนำส่ง ...
  • วิไลพรรณ ลีปรีชานนท์; Wilaipan Leepreechanon (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    สารแมงจิเฟอรินที่สกัดได้จากใบมะม่วงน้ำดอกไม้ (Mangifera indica L.) มีสัดส่วนร้อยละ 2.61 ของน้ำหนักผงใบ แห้ง นำมาทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH พบว่าฤทธิ์ของสารสกัดมีความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH ได้โดยมีค่า IC50 ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account