Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/529
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธิดา โมสิกรัตน์ | - |
dc.contributor.advisor | Thida Mosikarat | - |
dc.contributor.author | Xie, Donggu | - |
dc.contributor.other | Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-15T03:56:31Z | - |
dc.date.available | 2022-07-15T03:56:31Z | - |
dc.date.issued | 2013 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/529 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) (การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2556 | th |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมที่ปรากฏในนิทานพื้นบ้านจังหวัดระยอง โดยศึกษานิทานพื้นบ้าน 8 ประเภท จำนวน 50 เรื่อง และนำเสนอ ผลการวิจัยด้วยวิธีพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่าภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยเป็นชีวิตที่เรียบง่าย สงบร่มเย็น อาศัยอยู่ในธรรมชาติ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการเกษตร ตัดฟืนและล่าสัตว์ โครงสร้างของครอบครัวประกอบด้วยเครือญาติพ่อแม่พี่น้องและตายายที่อยู่ร่วมกัน โดยทำหน้าที่ของตนเอง ในด้านค่านิยมคนไทยมีความขยันหมั่นเพียร เชื่อฟังคำสอนของผู้ใหญ่และรู้จักใช้สติปัญญาแก้ปัญหาต่างๆ ในการเลือกคู่ครองพ่อแม่เป็นผู้หาคู่ครองให้ซึ่งจะต้องเป็นคนขยันและมีรูปงาม นอกจากนี้คนไทยมีความเชื่อเกี่ยวกับศาสนาพุทธในเรื่องการทำบุญ การเกิดใหม่ กรรม สวรรค์ และเมื่อได้รับอิทธิพลจากประเทศตะวันตก สังคมไทย เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะการคมนาคม การใช้ภาษาต่างประเทศและระบบการศึกษาสมัยใหม่ในขั้นมหาวิทยาลัยในด้านแนวคิด การตั้งชื่อสถานที่ พบว่า คนไททมีคติการตั้งชื่อสถานที่โดยอธิบายที่มาหรือมูลเหตุของการตั้งชื่อด้วยเรื่องเล่าและใช้ลักษณะสำคัญของสิ่งของหรือบุคคลในท้องถิ่น ในด้านการปกครอง นิทานได้สะท้อนภาพกษัตริย์เป็นผู้ปกครอง เมื่อมีปัญหาก็ประชุมหาวิธีแก้ปัญหาร่วมกัน ในด้านคุณค่าของนิทานพื้นบ้าน พบว่า มีคุณค่าด้านการสอนคุณธรรมโดยสอนเรื่องการทำความดีละเว้นความชั่ว คุณค่าด้านการปลูกฝังค่านิยม ได้สอดแทรกค่านิยมการรักษาความสะอาดและการรักษาสภาพแวดล้อม คุณค่าด้านการดำเนินชีวิต ได้ให้แนวคิดในการครองเรือน การใช้สติปัญญาแก้ปัญหาครอบครัวและสังคม และความรับผิดชอบหน้าที่ของตนเอง และคุณค่าด้านความบันเทิงนิทานให้ความเพลิดเพลินและให้อารมณ์ขันจากเรื่องราวและการใช้ภาษา | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research is the analysis of the Reflection of Social and Culture in Folk Tales in which appeared in the Folk Tales of Rayong Province and made by case study in 8 types of the 50 stories. This results is presented in descriptive analysis. The research found that the Thai life style is very simple, calm and live upon the nature. Most of the Thai vocational is agricultural, firewood and hunting. The main structure of the family is existed the relative as parents, brother and sister including the granny who are being lived together then they are known their own duty. Most popolar of the Thai is diligent, grateful, obey to the eldest and they know how to apply their acknowledgement for solving the problems. Refer to the spouse is depend upon their parents who has to choose and to decide that the spouse should be diligent and beautiful of handsome. Besides, the Thai people is believed and faithful the Buddhism which related to the merit, new born, destiny, heaven and devil or hell and then when the more powerful is the customs of the western which accepted by Thai people then made the Thai social changeable especially the transportation, foreign language communication and education in the university level. The name list of their plces is upon the opinion which found that most of the Thai people have the moral to be listed the name place by which explained the causes of the believable from the tale story and the symbolization is to be the local things or person. In accordance to the regime, the tales is reflected that the king is governed and ruled whenever the problems are come up to then they will be solved the problems by meeting arrangement together. Besides, the worth of the Folk Tales are to be found that it is useful to the normal priniciples by teaching the goodness and refrain the devil, more worth of the popularization, insert more populaization for cleaning, preserve the environment, life style including the marriage life and more useful the acknowledgement for solving the problems in the family and the social then has to responsibility their own duty. Refer to the enjoyable, the Folk Tales are more enjoyable and fun, comedy and language applicable. | th |
dc.language.iso | th | th |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | th |
dc.subject | นิทานพื้นเมือง -- ไทย -- ระยอง | th |
dc.subject | Folklore -- Thailand -- Rayong | th |
dc.subject | ระยอง -- ความเป็นอยู่และประเพณี | th |
dc.subject | Rayong -- Social life and customs | th |
dc.subject | การวิเคราะห์เนื้อหา | th |
dc.subject | Content analysis (Communication) | th |
dc.title | ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมในนิทานพื้นบ้านจังหวัดระยอง | th |
dc.title.alternative | Reflection of Social and Culture in Folk Tales of Rayong Province. | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | การสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง | th |
Appears in Collections: | Liberal Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Abstract.pdf Restricted Access | 124.5 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
Tableofcontents.pdf Restricted Access | 70.92 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
Chapter1.pdf Restricted Access | 97.75 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
Chapter2.pdf Restricted Access | 186.9 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
Chapter3.pdf Restricted Access | 361.43 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
Chapter4.pdf Restricted Access | 273.71 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
Chapter5.pdf Restricted Access | 102.26 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy | |
References.pdf Restricted Access | 121.04 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.