วิทยาลัยจีนศึกษา: Recent submissions

  • พรพรรณ จันทโรนานนท์; พัชรินรุจา จันทโรนานนท์; Pornpan Juntaronanon; Patcharinruja Jantaronanont; 刘丽芳 (2019)
    บทความวิจัยนี้เรียบเรียงขึ้นเพื่อต่อยอดจากงานวิจัยเรื่อง "ความเชื่อเรื่องศาสนาพุทธมหายาน และศาสนาเต๋า ของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดสมุทรปราการ : มุมมองจากโรงเจ" และเพื่อศึกษาความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการแพร่กระจายของค ...
  • นริศ วศินานนท์; Naris Wasinanon; 何福祥 (2019)
    บทความนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของอักษระประสมแบบบอกรูปและเสียง ( 形声字) เป็นอักษรประสมที่ประกอบด้วยส่วนบอกรูป (ความหมาย) และส่วนบอกเสียง (เสียงอ่าน) สองส่วน ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการสร้างอักษรจีน 6 ชนิด ( 六书) ...
  • ไพศาล ทองสัมฤทธิ์; วิชญากร ศรีวิภากุล; ธนดล จิรสันติวงศ์; มนัสนันท์ ฉัตรเวชศิริ; เบญจวรรณ ศิริคันธรส; ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ; กิติกา กรชาลกุล; จันทิมา จิรชูสกุล; สุวัฒน์ เพียรพาณิชย์สกุล; สายฝน วรรณสินธพ; ธเนศ อิ่มสำราญ; Phaisan Thongsamrit; Vichayakorn Srivipakul; Tanadon Jirasantiwong; Manatsanan Chatwechsiri; Benjawan Siricantarot; Thumwadee Siripanyathiti; Kitika Karachalkul; Chanthima Chirachoosakul; Suwat Pianpanichskul; Saiphon Wunnasinthop; Thanet Imsamran; 陈慕贤; 黄佛明; 谢业辉; 蔡彩凤; 罗玉香; 刘淑莲; 王燕琛; 周美华; 夏建兴; 张曼倩; 尹士伟 (2019)
    ในโลกยุคดิจิตอล ความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและเครื่องมือสื่อสาร นับเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาสังคมและการใช้ชีวิตประจำวันเพื่อให้ก้าวทันโลกดิจิตอลที่เดินรุดหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง การศึกษาเป็นเสาหลักสำคัญของการพัฒนาประเทศ ...
  • รัตนา จันทรสารโสภณ; 黄友华; Ratana Jantarasarsophon (2019)
    "ก้วย" (粿) เป็นอาหารรับประทานเล่นมีประวัติยาวนาน และมีความสำคัญทางด้านวัฒนกรรมการกินอย่างหนึ่งอของชาวแต้จิ๋ว อีกทั้งยังมีความผูกพันใกล้ชิดกับวิถีชีวิตของชาวจีนแต้จิ๋ว ชาวจีนแต้จิ๋วได้รู้จักวิธีนำธัญพืชในท้องถิ่นมาทำเป็นแ ...
  • นริศ วศินานนท์; สุกัญญา วศินานนนท์; Naris Wasinanon; Sukanya Wasinanon; 何福祥; 黄如侬 (2017)
    บทความนี้เป็นการวิเคราะห์รูปแบบคำย่อสองพยางค์ในภาษาจีนปัจจุบัน ซึ่งย่อมาจากคำเดิม 4 พยางค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบโครงสร้างของคำศัพท์ (วลี) เดิมและโครงสร้างของคำย่อสองพยางค์ การเรียงลำดับของคำในคำศัพท์ (วลี) เดิมและคำย่อสองพยางค์ ...
  • Zhao Ping (2022)
    在泰国文学的发展中从古代文学到近代文学,从近代文学过渡到现代文学,再进入到当代文学, 每个发展阶段都能看到外国文学对泰国文学的影响。外国文学对泰国文学的影响不仅打造了泰国 发展的基石,也促进了泰国文学的创作发展,推动了泰国文学的演变。在外国文学的影响下,泰 国小说散文取代了诗歌戏曲的主导地位,成为泰国文学的主要体裁,使泰国文学向多元化的方向 发展。论文通过对影响泰国文学发展的主要外国文学,即印度文学、中国文学和西方文学的对比 ...
  • Zhao Ping (2021)
    在中国文学发展演变中,农民题材的话语模式和叙述方式,在中国不同的历史年代和社会变革时 期有着自己的文学特点。从“遵命文学”到“听命文学”的流变,反映了在不同历史条件下和政治生 态环境下,作家的思想意识和创作方法。遵命文学与听命文学下的作品显示出不同的话语模式和叙述 方式,反映着当时一定的社会变革和文化思想,并在不同的程度上受到作者所生活的那个时代的主流 社会文化思想的影响。论文阐释了“遵命文学”与“听命文学”产生的历史背景和政治 ...
  • Fan Jun; Naris Wasinanon (2021)
    本论文是华侨崇圣大学的校级科研课题的研究成果。课题致力于研究泰华文学的历史与现状。关于泰华文学的历史部分,论文分为三个阶段来详细描述了一百余年的发展变化,分析了二十世纪八十年代以来当代泰华文坛的文学派别、文学社团以及丰硕的创作成就及其国际交流与影响。目前,泰华文学的创作主力正向操华语母语的新移民群体转移,新移民文学是泰华文坛值得重视的新趋势
  • นริศ วศินานนท์; สุกัญญา วศินานนท์; Naris Wasinanon; 何福祥; Sukanya Wasinanon; 黄如侬 (2021)
    บทความนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบระบบความหมายของคำในภาษาจีนและภาษาไทย โดยศึกษาจาก คำกริยาพยางค์เดียวที่มีความหมายเกี่ยวกับการมองดู มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างเชิงอัตลักษณ์และ ความเหมือนเชิงนัยทั่วไปของระบบความหมาย ...
  • ไพศาล ทองสัมฤทธิ์; ธนดล จิรสันติวงศ์; สุทธสร ศรีวิภากุล; เทพี แซ่มัด (2021)
    จุดสำคัญของบทความนี้อยู่ที่การศึกษาการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 6 หรือ สพม.เขต 6 ซึ่งมีหน้าที่ดูแลโรงเรียนในสังกัดความรับผิดชอบทั้งสิ้น 54 โรงเรียน ครอบคลุมพื้นที่ดูแล 2 จังหวัดคือจัง ...
  • ปภาพรรณ รุ่งมรกต; FAN JUN (2021)
    ปัจจุบันประเทศจีนถือเป็นประเทศมหาอำนาจ ที่มีอิทธิพลในการซื้อขายเป็นอย่างมาก อีกทั้งยังมี กำลังการผลิตที่สูงเป็นอันดับหนึ่งของโลก หากพูดถึงการค้าขายทำธุรกิจระหว่างประเทศไทยและประเทศจีน ทั้งสองประเทศต่างเป็นประเทศคู่ค้าที่ ...
  • Zhao Ping (2021)
    在泰国文学从古代文学进入现当代文学的历史长河中,泰国文学发生了一系列的演变。以宫廷文人为古代文学主要创作群体的宫廷文学,到现代文学时逐渐地失去了泰国文学的主导地位, 从泰国文坛上悄然退出,取而代之的是大众文学,来自民间的作家开始主导了泰国文学。论文通过对泰国文学发展变化的研究,分析了中国文化对诗琳通公主在文学创作和文学作品翻译方面的影响。论文以泰国文学体裁和题材的演变,散文游记的演变和对中国文学作品翻译的演变为主要研究对象,概况了泰国文 ...
  • รัตนา จันทรสารโสภณ; กิติกา กรชาลกุล; Ratana Jantarasarsophon; Kitika Karachalkul; 黄友华; 王燕琛 (2021)
    ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอารยธรรมและวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมายาวนานนับพันปี“กี่เพ้า” หรือ “ฉีผาว (旗袍)” ในภาษาจีนกลาง มาจาก “旗”ที่แปลว่า ธง และ“袍”ที่แปลว่า ชุดเสื้อคลุมยาว แต่ในประเทศไทยจะออกเสียงเป็น “ กี่เพ้า ” ...
  • ธันฐกรณ์ สังขพิพัฒธนกุล; Thantakron Sangkapipattanakul; 杨光宝 (2021)
    วัฒนธรรมแต้จิ๋วเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมจีนที่มีเอกลักษณ์พิเศษเฉพาะตน ชาวจีนแต้จิ๋วเป็นกลุ่มชาวจีนอพยพที่มีจํานวนประชากรมากที่สุดในประเทศไทย ทําให้วัฒนธรรมของชาวจีนแต้จิ๋วกลายเป็นตัวแทนของวัฒนธรรมจีนทั้งหมดในการรับรู้ของค ...
  • ผ่องพรรณ ทวีเลิศทรัพย์; จันทิมา จิรชูสกุล; มนัสนันท์ ฉัตรเวชศิริ (2022)
    การศึกษาในยุคความปกติใหม่ (New Normal) เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ทําให้เกิดการปรับตัวทางด้านการเรียนการสอน แอปพลิเคชันจึงเป็นสิ่งจําเป็นที่มีส่วนช่วย ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาทางด้าน ...
  • ธันฐกรณ์ สังขพิพัฒธนกุล; รัตนา จันทรสารโสภณ; เบญจวรรณ ศิริคันธรส; เทพี แซ่มัด; กิติกา กรชาลกุล; Thantakron Sangkapipattanakul; Ratana Jantarasarsophon; Benjawan Siricantarot; Thephi Saemat; Kitika Karachalkul; 杨光宝; 黄友华; 罗玉香; 麦春梅; 王燕琛 (2022)
    หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมจีน ได้ทําการวิจัยประเมินหลักสูตรโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาและวัฒนธรรมจีนในด้านบริบทของหลักสูตรด้านปัจจัยนําเข้า ...
  • สุทธสร ศรีวิภากุล; ธนดล จิรสันติวงศ์; ไพศาล ทองสัมฤทธิ์; มนัสนันท์ ฉัตรเวชศิริ (2022)
    การวิจัยประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2560 วิจัย ตามแบบจําลอง CIPP Model โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อวิเคราะห์หลักสูตรและประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาหลักสูตรในบริบท ...
  • Fu Feiliang; Pornpan Juntaronanon; Tanes Imsamran; Tian Ye; พรพรรณ จันทโรนานนท์; 刘丽芳; ธเนศ อิ่มสำราญ; 尹士伟; 付飞亮; 田野 (2020)
    The spread of Chinese TV series in Thailand has experienced more than 40 years of development, and each period presents different development characteristics. This paper clears up the history and current situation of the ...
  • นริศ วศินานนท์; Naris Wasinanon; 何福祥 (2022)
    บทความนี้เป็นการอธิบายปัญหาของการเรียนการสอนอักษรจีนของคนไทย เพื่อเข้าใจถึงประเด็นปัญหาต่างๆเกี่ยวกับการเรียนการสอนอักษรจีนและเสนอแนวทางพัฒนาการเรียนการสอนอักษรจีนในประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ปัญหาของการเรียน ...
  • จรัสศรี จิรภาส; สุกัญญา วศินานนท์; นริศ วศินานนท์; ธเนศ อิ่มสำราญ; กิติกา กรชาลกุล; ธุมวดี สิทธิโชคเหล่าทอง; สายฝน วรรณสินธพ; Charassi Jiraphas; Sukanya Wasinanon; Naris Wasinanon; Thanet Imsamran; Kitika Karachalkul; Thumwadee Sitthichoklaotong; Saiphon Wunnasinthop; 谢玉冰; 黄如侬; 何福祥; 尹士伟; 王燕琛; 刘淑莲; 张曼倩 (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2008)
    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2544 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ความเหมาะสมของโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตร 2) ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account