วิทยาลัยจีนศึกษา: Recent submissions

  • สายฝน วรรณสินธพ; Saiphon Wunnasinthop; 张曼倩 (2021)
    การศึกษาวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักศึกษา สาขาวิชาภาษาจีนเปรียบเทียบปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการฝึกสหกิจศึกษา ศึกษาปัญหาอุปสรรคตลอดจนข้อเสนอแนะ โดยกลุ่มเป้าหมายคือนักศึกษา ...
  • ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ; จันทิมา จิรชูสกุล; มนัสนันท์ ฉัตรเวชศิริ; Thumwadee Siripanyathiti; Chanthima Chirachoosakol; Manatsanan Chatwechsiri; 刘淑莲; 周美华; 蔡彩凤 (2021)
    หนังสือพิมพ์จีนในประเทศไทยถือกำเนิดขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มชาวไทยเชื้อสายจีน และกลุ่มชาวจีนอพยพที่อาศัยอยู่นอกแผ่นดินจีน โดยเริ่มเกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีกลุ่มชาวจีนแต้จิ๋วอาศัยอยู่ นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1903 ...
  • วิภาวรรณ สุนทรจามร; หทัย แซ่เจี่ย; ภูวกร ฉัตรบำรุงสุข; กำพล ปิยะศิริกุล; นริศ วศินานนท์; กนกพร ศรีญาณลักษณ์; Wipawan Sundarajamara; Hatai Jia; Puwakorn Chatbumrungsuk; Kampol Piyasirikul; Naris Wasinanon; Kanokporn Sriyanalug; 何福祥 (สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2016)
    งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาของการพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอาชีวศึกษาในประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วยการบริหารจัดการ หลักสูตร สื่อการเรียนการสอน ผู้สอน ผู้เรียน และความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ...
  • วิภาวรรณ สุนทรจามร; หทัย แซ่เจี่ย; ภูวกร ฉัตรบำรุงสุข; กำพล ปิยะศิริกุล; นริศ วศินานนท์; กนกพร ศรีญาณลักษณ์; Wipawan Sundarajamara; Hatai Jia; Puwakorn Chatbumrungsuk; Kampol Piyasirikul; Naris Wasinanon; Kanokporn Sriyanalug; 何福祥 (สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2016)
    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของกระบวนการในการจัดการเรียน การสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ ให้กับชาวต่างชาติในระดับอุดมศึกษาของจีน ผู้วิจัยใช้วิธีวิจัยโดยการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลในส่วนของกรณีศ ...
  • วิภาวรรณ สุนทรจามร; หทัย แซ่เจี่ย; ภูวกร ฉัตรบำรุงสุข; กำพล ปิยะศิริกุล; นริศ วศินานนท์; กนกพร ศรีญาณลักษณ์; Wipawan Sundarajamara; Hatai Jia; Puwakorn Chatbumrungsuk; Kampol Piyasirikul; Naris Wasinanon; Kanokporn Sriyanalug; 何福祥 (สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2016)
    การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบ เพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนนอกระบบในประเทศไทย โดยศึกษากับโรงเรียนหรือสถาบันสอนภาษาจีนนอกระบ ...
  • วิภาวรรณ สุนทรจามร; หทัย แซ่เจี่ย; ภูวกร ฉัตรบำรุงสุข; กำพล ปิยะศิริกุล; นริศ วศินานนท์; กนกพร ศรีญาณลักษณ์; Wipawan Sundarajamara; Hatai Jia; Puwakorn Chatbumrungsuk; Kampol Piyasirikul; Naris Wasinanon; Kanokporn Sriyanalug; 何福祥 (สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2016)
    ปัจจุบันบทบาทของจีนในสังคมโลกมีความสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในสังคมไทยได้เกิด กระแสนิยมเรียนภาษาจีนมากขึ้น กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ให้ความสำคัญต่อการจัดเรียนการสอน ภาษาจีนในประเทศไทย และได้กำหนดนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอน ...
  • วิภาวรรณ สุนทรจามร; หทัย แซ่เจี่ย; ภูวกร ฉัตรบำรุงสุข; กำพล ปิยะศิริกุล; นริศ วศินานนท์; กนกพร ศรีญาณลักษณ์; Wipawan Sundarajamara; Hatai Jia; Puwakorn Chatbumrungsuk; Kampol Piyasirikul; Naris Wasinanon; Kanokporn Sriyanalug; 何福祥 (สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2016)
    งานวิจัยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษามอบหมายให้ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นดำเนินการวิจัย งานวิจัยฉบั ...
  • วิภาวรรณ สุนทรจามร; หทัย แซ่เจี่ย; ภูวกร ฉัตรบำรุงสุข; กำพล ปิยะศิริกุล; นริศ วศินานนท์; กนกพร ศรีญาณลักษณ์; Wipawan Sundarajamara; Hatai Jia; Puwakorn Chatbumrungsuk; Kampol Piyasirikul; Naris Wasinanon; Kanokporn Sriyanalug; 何福祥 (สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2016)
    งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาสภาพปัจจุบันของการการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับ อุดมศึกษาในประเทศไทย เพื่อศึกษาปัญหาการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับ อุดมศึกษาในประเทศไทย และความเชื่อมโยงของระดับมัธยมศึกษากับระดับอุดมศึกษา ...
  • วิภาวรรณ สุนทรจามร; หทัย แซ่เจี่ย; ภูวกร ฉัตรบำรุงสุข; กำพล ปิยะศิริกุล; นริศ วศินานนท์; กนกพร ศรีญาณลักษณ์; Wipawan Sundarajamara; Hatai Jia; Puwakorn Chatbumrungsuk; Kampol Piyasirikul; Naris Wasinanon; Kanokporn Sriyanalug; 何福祥 (สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2016)
    บทสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับภาพรวมของการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการศึกษานอกระบบฉบับนี้ จัดทำขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปภาพรวมของสภาพปัญหาปั ...
  • นริศ วศินานนท์; 何福祥; Naris Wasinanon (2016)
    งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบันและแนวโน้มการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนในอนาคต แบ่งเป็น 6 ด้าน ได้แก่ ด้านนโยบายและการส่งเสร ...
  • Huang Zixuan; 黄子轩 (2023)
    在全球化背景下,学习汉语作为第二语言对幼儿的发展至关重要,在泰国许多学校都开始 了汉语课程,幼儿园也不例外。对于幼儿汉语教学,如何选择合适的教学方法来开展教学活 动,提高课堂趣味性,激发幼儿学习汉语的动机显得尤为重要。本研究采用文献研究法、案例 分析法与课堂观察法相结合, 探讨了 KPIS 国际学校幼儿园中文课堂教学的实施情况和教学内 容的设计。 首先, 绪论部分介绍了研究背景、研究目的、研究意义、研究方法和创新之处, 再通过 ...
  • Wang Wenzhen; Tanes Imsamran; 王文珍; ธเนศ อิ่มสำราญ; 尹士伟 (2023)
    本文研究目的是通过微信公众号泰国《世界日报》和《星暹传媒》近两年半的推文内容数 据采集“窥斑见豹”, 对两大公众号发展优势、不足、及发展路径进行总结分析,探索中华传 统文化与泰国华人同胞及泰国民众深入融合的传播方式对泰国华文新媒体的发展提供一定的理 论参考和现实指导。本研究通过爬虫工具从《世界日报》和《星暹传媒》微信公众号2020 年 1 月至2022 年6 月发布的新闻内容标题抽取样本数据,进行数据去重、删除异常数据和缺失 ...
  • Pan Zhijing; 潘芝境 (2023)
    文化与语言关系的研究一直受到人们的关注,谚语是一种源自人民群众,与民众生活息息 相关的语言。本文以中国和泰国重要的生产生活动物——“牛”作为主要研究对象,通过列举 中国与泰国两国的“牛”谚语,对比中国和泰国“牛”的文化内涵和形象特点,通过进而对两 国在民族风俗、历史文化等方面的差异进行探究。研究显示:汉泰谚语中“牛”的文化内涵存 在共性和差异,牛的形象有褒有贬,中国人在对牛进行评价时,则以褒义色彩为主,泰国的评 价以贬义色彩为主。
  • Chawika Komkaew; 邓玲珑; ชวิกา โคมแก้ว (2023)
    商标从古至今在国家经济贸易中发挥着重要作用。目前,由于公众对商标重要性 的认识日益增加,包含汉字的商标注册申请越来越多。商标的显著性是商标是否能获 得注册的决定性因素。判断含有中文的商标是否为显著商标,需要明确商标中包含的 汉字元素是否是可解释的中文词汇,或者是按照中国方言的发音写成的可解释的词, 抑或是故意用拼写错误的汉语字符编写的词汇。当然,即使公众能理解商标涵盖的词 汇意思,但若这个意思直接描述了产品的外观或特性,则其不 ...
  • Zhang Manfeng; Tanes Imsamran; 张满峰; ธเนศ อิ่มสำราญ; 尹士伟 (2023)
    国际中文教材是传递中国形象的重要媒介,因此研究教材中中国形象的塑造具有重要现 实意义。本文以《发展汉语》系列综合教材为例,探讨教材中中国形象自我塑造的几个特点: 多元丰富、积极自信、开放包容、传承创新、合作共赢。同时,本文分析了《发展汉语》综合 教材中影响国家形象的几个因素:不同的社会环境,教材的内容、难度、针对性,对国家形象 描写不充分等。进而笔者提出了自己的思考:1.国际中文教育的宗旨在于培养学习者能够掌握 汉语的深层含义 ...
  • Intouch Boonrit; Tanes Imsamran; อินทัช บุญฤทธิ์; ธเนศ อิ่มสำราญ; 尹士伟 (2023)
    本文旨在综合分析宋卡王子大学、法政大学、皇太后大学和东亚大学四所大学的中国学专 业课程设置,重点探讨以下几个问题:1)课程目标;2)录取条件;3)课程结构。本研究收集了 这四所大学的教学数据,并利用这些数据来分析和比较它们之间的异同。结果以对照表和影响课 程设置因素的分析形式呈现。研究发现,由于经济、社会、文化等因素接近,这四所大学的中国 学专业课程设置相似,培养的学生具备全面的中国学知识,能够有效地使用汉语进行交流,具有 ...
  • Sijun Liu; 刘思君 (2023)
    大多数对外汉语教师会选择由大陆、香港、台湾等地区编写出版的中文教材,但新加坡华 文教材经过一系列的改革与发展,也在海外中文教材中占有一席之地。本文主要从编写理念、结构体例、题材与体裁以及语言要素四个方面对新加坡《中学华文B》教材进行分析与研究。 论文指出了教材在编写上的内容与功能的亮点,同时也指出了一些不足之处,例如教材编写组 织不够合理、汉字表不清晰明了、生词数量过少且与练习不相匹配以及中华文化教学内容过少 等最后,结合对外汉语教材 ...
  • Li Kuan; 李宽 (2023)
    泰国的汉语学习者在学习汉语声调时,将泰语声调中和汉语声调相似的部分直接 使用在汉语声调中。这种简单的母语声调代入容易出现声调调值不够高、曲折音发不 出等问题,使用时间较久容易形成“化石化”现象,难以改正。本文通过探讨音乐音高及汉语声调音高的关系,来研究引用华语流行乐学习简谱 唱法,并利用唱简谱感知汉语声调调值的教学方法。笔者撰写论文采用了文献调查 法、调查问卷法、跨学科研究法三种方法对泰国汉语中级水平及以上(HSK3-6 级)学 ...
  • Siriporn Jinawang; 金丽帆; ศิริพร จินาวัง (2023)
    本研究主要以泰国北榄府三所中学的课堂活动为例,对泰国中学汉语教学课堂 活动设计的有效性进行探索。研究目的是通过调查和研究泰国北榄府三所中学汉语教 学中的课堂活动情况,了解当前泰国中学汉语教学的基本情况,并调查学生对不同汉 语教学课堂活动的满意度。同时,分析目前课堂活动设计在调动学生学习主动性方面 的作用和不足。通过综合分析学生学习主动性的调动作用和学习成绩提升效果,总结 目前课堂活动设计的特点和不足,并提出相应的改进建议和措施 ...
  • Wang Liping; 王丽萍 (2023)
    为了更好地致力于泰国汉语教学,有效帮助泰国学生掌握语言知识以及提高言语技能,此文 以泰国曼谷Youth Exchange School小学部学生的汉语教学为例,以传统教学法与第二课堂教学法辨析 作为理论依据,尝试用学习中文歌曲的教学方法来探索新的教学模式并以此激发学生对汉语听说能 力学习的极大兴趣,如扩大词汇量、提高听力,口语能力、培养语感等。研究旨在依托泰国汉语教育 政策和相应汉语考试大纲,对中文歌曲进行分类并应用于课堂实践,以达到激发学习动力、丰富 ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account