Medical Technology - Research Reports: Recent submissions

  • เพ็ญนภา ชมะวิต; ภาณุพงศ์ สหายสุข; นันทวดี เนียมนุ้ย; Pennapa Chamavit; Panupong Sahaisook; Nunnthawadee Niamnuy (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2009)
    แมลงสาบมีการกระจายอยู่ทั่วโลก แหล่งกำเนิดอยู่ในเขตร้อน ชอบออกหากินในเวลากลางคืน ส่วนมากแมลงสาบจะกินและถ่ายอุจจาระออกมาตลอดทางที่เคลื่อนที่ แมลงสาบเกี่ยวข้องกับการเป็นพาหะของโรคปรสิตในเขตร้อน วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ ...
  • วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; พัชรี กัมมารเจษฎากุล; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; พรทิพย์ พึ่งม่วง; สมหญิง งามอุรุเลิศ; เมธี ศรีประพันธ์; สุชาดา ยางเอน; วีรชัย สุทธิธารธวัช; Watcharin Rangsipanuratn; Patcharee Kammarnjassadakul; Issaya Janwittayanuchit; Porntip Paungmoung; Somying Ngamurulert; Methee Sriprapan; Suchada Yangen; Veewachai Soottitantawat (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    สมุนไพรจีนเป็นการแพทย์แผนทางเลือกที่กาลังเป็นที่นิยมในปัจจุบัน แต่ยังขาดข้อมูลความปลอดภัยในการบริโภค งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปนเปื้อนโลหะหนัก จุลินทรีย์และอะฟลาทอกซินในสมุนไพรจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย 5 ...
  • ศราวุธ สุทธิรัตน์; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; บุณนิภา สุวรรณกาล; อำไพ ตั้งอนุชิตชาญชัย; Sarawut Suttirut; Taweeporn Phunpanich; Boonnipa Suwannakan; Ampai Tanganuchitcharnchai (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2013)
    ทําการตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM ต่อแอนติเจนของเชื้อ Leptospira interrogans, Burkholderia pseudomallei และ Orientia tsutsugamushi ที่เคลือบแยกชนิดบนสไลด์หลุมเดียวกันด้วยวิธีอินไดเร็คอิมมูโนฟลูออเรสเซนต์เพื่อตรวจกรองโรคทั้งส ...
  • สราวุธ สายจันมา; อุมาพร ทรัพย์เจริญ; Sarawut Saichanma (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 1998)
    การวิจัยนี้เป็นการศึกษานำร่องในการใช้ค่าชี้วัดทางโลหิตวิทยาที่ได้จากเครื่องนับเซลล์อัตโนมัติในงานประจำ เพื่อเป็นวิธีตรวจกรองพาหะของธาลัสซีเมียชนิดแอลฟา ในทารกแรกเกิดก่อนที่จะทำการตรวจยืนยันโดยวิธีมาตรฐานต่อไป ซึ่งการตรวจ ...
  • ชมพูนุท สินธุพิบูลยกิจ; ทินกร เพิ่มพงศ์ไพบูลย์; สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์; Chompunoot Sinthupibulyakit; Thinnakorn Permpongpaiboon; Sureerut Porntadavity (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    การกระจายตัวของยีนพาราออกโซเนส 1 ในกลุ่มตัวอย่างประชากรไทย Paraoxonase1 (PON1) เป็นเอนไซม์ที่ถูกสังเคราะห์ที่ตับและไตถูกหลั่งออกมาในพลาสมาและจับกับ high-density lipoprotein (HDL) มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระโดย hydrolyze ...
  • ชลันดา กองมะเริง; เกษร คำแก่น; Chalunda Kongmaroeng; Kesorn Kumkaen (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    แอนติบอดีต่อแอนติเจนนิวโทรฟิล (Human Neutrophil Antigens; HNAs) มีบทบาทสำคัญในการเกิดภาวะ immune-mediated neutropenia และ antibody-mediated transfusion related acute lung injury (TRALI) การตรวจหาแอนติเจน HNA มีความสำคัญต ...
  • ทินกร เพิ่มพงศ์ไพบูลย์; สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์; Thinnakorn Permpongpaibook; Sureeeut Porntadavity (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2010)
    เอนไซม์ paraoxonase 2 (PON2) สามารถพบได้ทั่วไปในเนื้อเยื่อต่างๆ โดยทำหน้าที่เป็นสารต้านอนุมูลอิสระในการลดภาวะ oxidative stress ภายในเซลล์และรอบๆ เซลล์ซึ่งสามารถยับยั้ง lipid peroxidation ของ oxidized-low density lipoprotein ...
  • Panthip Rattanasinganchan; Rutaiwan Tohtong; ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ; ฤทัยวรรณ โต๊ะทอง (Huachiew Chalermprakiet University, 2011)
    มะเร็งท่อน้ำดีคือมะเร็งตับชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากเซลล์อิพิทีเรียลบริเวณท่อทางเดินน้ำดี อุบัติการของมะเร็งท่อน้ำดีพบมากทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะประเทศไทย ปัจจุบันมะเร็งท่อน้ำดีกลายเป็นปัญหาที่สำคัญทางสาธารณสุขเนื่องจ ...
  • ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ; ฤทัยวรรณ โต๊ะทอง; Panthip Rattanasingangchan; Rutaiwan Tohtong (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    มะเร็งท่อน้ำดีเป็นมะเร็งที่เกิดขึ้นที่บริเวณท่อทางเดินน้ำดี มีความสัมพันธ์กับการอักเสบเรื้อรังจากการติดเชื้อพยาธิที่ตับ ทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟาเป็นไซโตไคน์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบซึ่งหลังจากแมคโครเฟจและเซลล์มะเร็ง ...
  • พรทิพย์ พึ่งม่วง; พจมาน ผู้มีสัตย์; สุทัศน์ บุญยงค์ (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2010)
    Vibrio parahaemolyticus เป็นสาเหตุสําคัญของโรคอาหารทะเลเป็นพิษ การจําแนกสายพันธุ์ของเชื้อจึงเป็นสิ่งจําเป็นเพื่อประโยชน์ทางด้านการศึกษาระบาดวิทยา รวมถึงการควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ การวิจัยครังนี้ศึกษาการจําแ ...
  • พัชรี กัมมารเจษฎากุล; จิดาภา เซคเคย์; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; อริยา จินดามพร; Patcharee Kammarnjassadakul; Jidapa Szekely; Watcharin Rangsipanuratn; Issaya Janwittayanuchit; Ariya Chindamporn (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    ยาดมสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากธรรมชาติและได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย แต่การศึกษาเกี่ยวกับยาดมสมุนไพรกับการปนเปื้อนเชื้อรายังมีน้อยมาก ดังนั้นคณะผู้วิจัยทำการตรวจหาชนิดของเชื้อราปนเปื้อนจากยาดมสมุนไพรที่มีจำหน่ายอยู่ในท้องตลาด ...
  • สมหญิง งามอุรุเลิศ; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; สุมลรัตน์ ชูวงษ์วัฒนะ; ประเสริฐ เอื้อวรากุล; Somying Ngamurulert; Isaya Janwithayanuchit; Sumonrat Chuwongwattana; Prasert Auewarakul (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    การติดเชื้่อไวรัสตับอักเสบบีเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลก มีผู้ติดเชื้อเป็นพาหะที่สามารถแพร่เชื้อต่อไปยังผู้อื่นได้ ประเทศไทยมีความชุกของไวรัสตับอักเสบบีสูงเช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ การวิจัยครั้งนี้ได้ทำการศึกษาความช ...
  • อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; ภาณุพงศ์ สหายสุข; จิราภรณ์ เรืองสิทธิชัย; สุชาดา สำรวยผล; พัชรา ศรีวิชัย; สังสิทธิ์ สังวรโยธิน; ชำนาญ อภิวัฒนศร; Issaya Janwittayanuchit; Panupong Sahaisook; Jiraporn Ruangsitthichai; Suchada Sumruayphol; Patchara Sriwichai; Sungsit Sungvoorayothin; Chamnarn Apiwathnasorn (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    การวิจัยนี้เป็นการพัฒนาวิธี DNA barcodes เพื่อนำมาใช้ในการจำแนกชนิดของแมลงสาบเปรียบเทียบกับวิธีสัณฐานวิทยาซึ่งเป็นวิธีมาตรฐาน โดยทำการจำแนกแมลงสาบจำนวน 12 ชนิด แบ่งเป็นแมลงสาบที่ทราบชนิดจำนวน 10 ชนิด และแมลงสาบที่ไม่ทราบชนิดอีก ...
  • วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; พรทิพย์ พึ่งม่วง; Watcharin Rangsipanuratn; Issaya Janwittayanuchit; Porntip Paungmoung (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 1997)
    จากการตรวจคุณภาพทางจุลชีววิทยาของอาหาร ภาชนะสัมผัสอาหาร เครื่องดื่ม น้ำแข็ง น้ำดื่ม ที่จำหน่ายในอาคารโภชนาการ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ระหว่างเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม พ.ศ. 2541 โดยตรวจหาเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นดัชนี ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account