Medical Technology - Research Reports: Recent submissions

  • อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ; ณัฐริณี หอระตะ; ศราวุธ สุทธิรัตน์; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; Isariya Ieamsuwan; Natharinee Horata; Sarawut Suttirat; Taweebhorn Phunpanich (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2021)
    มด (วงศ์ Formicidae อันดับ Hymenoptera) เป็นแมลงที่มีความสำคัญที่พบได้บ่อยในพื้นที่เขตร้อน อาศัยอยู่ตามบ้านและพื้นที่การเกษตร สามารถทำอันตรายกับมนุษย์ได้โดยการกัดต่อย ทำให้รู้สึกเจ็บปวด บวม คัน แสบ หรืออาจก่อให้เกิดอาการ ...
  • มยุรี เก่งเกตุ; ภาวิณี คุปตวินทุ; Mayuree Kengkate; Pawinee Kupatawintu (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2019)
    วัตถุประสงค์ การศึกษานี้ได้ทำการตรวจฟีโนไทป์ของ CD36 (Nak[superscript a]) และศึกษาชนิด variant ของยีน CD36 ในผู้บริจาคเกล็ดโลหิตของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาตติ สภากาชาดไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการศึกษาความสำคัญทางคลินิก ...
  • พรทิพย์ พึ่งม่วง; ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ; ศราวุธ สุทธิรัตน์; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; สุชา จุลสำลี; สราวุธ สายจันมา; เพ็ญนภา ชมะวิต; ชลันดา กองมะเริง; จิรวัส ประทุมวัน; Porntip Paungmoung; Panthip Rattanasinganchan; Sarawut Suttirat; Watcharin Rangsipanuratn; Sucha Chulsomlee; Sarawut Saichanma; Pennapa Chamavit; Chalunda Kongmaroeng; Jirawat Pratumwan (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2011)
    คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ได้ประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ ฉบับพุทธศักราช 2548 เพื่อประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาโดยใช้รูปแบบการประเมินหลักสูตรตามหลักการของ สตัฟเฟิลบีม ...
  • พรทิพย์ พึ่งม่วง; ศราวุธ สุทธิรัตน์; เพ็ญนภา ชมะวิต; ชลันดา กองมะเริง; ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ; ดวงมณี แสนมั่น; Porntip Paungmoung; Sarawut Suttirat; Pennapa Chamavit; Chalunda Kongmaroeng; Panthip Rattanasinganchan; Duangmanee Sanmun (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2018)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ ฉบับปีพุทธศักราช 2555 ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยใช้การประเมินตาม TQF และ CIPP model เพื่อประเมินความเหมาะสมและคุณภาพของหลักสูตรใน ...
  • พรทิพย์ พึ่งม่วง; สุวรรณา เสมศรี; สุชา จุลสำลี; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; สมหญิง งามอุรุเลิศ; พัชรี กัมมารเจษฎากุล; ปัญจพร นิ่มมณี; สุมลรัตน์ ชูวงษ์วัฒนะ; Porntip Paungmoung; Suwanna Semsri; Sucha Chulsomlee; Watcharin Rangsipanuratn; Somying Ngamurulert; Patcharee Kammarnjassadakul; Panjaphorn Nimmanee; Sumonrat Chuwongwattana (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2021)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดหยาบด้วยเอทานอลของสมุนไพร 10 ชนิด ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียด้วยวิธี agar disk diffusion และ broth dilution ฤทธิ์ต้านการอักเสบด้วยวิธียับยั้งการหลั่งไ ...
  • สุวรรณา เสมศรี; ทรงยศ อนุชปรีดา; วิชาญ จันทร์วิทยานุชิต; Suwanna Semsri; Songyot Anuchapreeda; Wicharn Janwitayanuchit (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    ปัจจุบันการรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวมุ่งสู่ทางเลือกใหม่โดยใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติได้ถูกศึกษาและพยายามที่จะรวบรวมความรู้ใหม่เพื่อนำมาใช้รักษาผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวเป็นที่น่าสนใจว่าการศึกษาที่ผ่านมาพบว่ามะรุมมีฤทธิ์ป้องกั ...
  • บุษบา มาตระกูล; อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; ประคอง สาคร; ประไพ เหมหอม; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; เบญจพร โอประเสริฐ; ศราวุธ สุทธิรัตน์; ชลันดา กองมะเริง; แสงชัย นทีวรนารถ; Busaba Matrakool; Issaya Janwittayanuchit; Watcharin Rangsipanuratn; Prakong Sakorn; Prapai Hemhorm; Taweeporn Phunpanich; Benjaporn O-Prasert; Sarawut Suttirat; Chalunda Kongmaroeng; Saengchai Nateeworanart (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2003)
    การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยใช้รูปแบบการประเมินซิปป์ (CIPP MODEL) โดยประเมินหลักสูตรใน 4 ด้าน คือ ด้านบริบท ได้แก่ วัตถุประสงค ...
  • ศราวุธ สุทธิรัตน์; ศันสนีย์ ตันติ์จธัม; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; Sarawut Suttirat; Sansanee Tanjatham; Taweeporn Phunpanich (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2006)
    ทำการพัฒนาวิธี dot-ELISA สำหรับการตรวจหา IgM ต่อเชื้อเลปโตสไปรา เพื่อใช้ในการวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรซิส โดยเปรียบเทียบกับผลการวินิฉัยทางคลินิก จากตัวอย่างซีรัมจำนวน 130 ตัวอย่าง ประกอบด้วยซีรัมจากผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซิส ...
  • อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; Issaya Janwittayanuchit (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2000)
    การศึกษาคุณภาพทางจุลชีววิทยาของแหนมในเขตกรุงเทพมหานครเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพทางจุลชีววิทยาของแหนมที่มีฉลากและแหนมที่ไม่มีฉลากผลิตภัณฑ์ โดยทำการเก็บตัวอย่างแหนมระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนตุลาคม ...
  • อิสยา จันทร์วิทยานุชิต; สมหญิง งามอุรุเลิศ; พรทิพย์ พึ่งม่วง; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; Isaya Janwithayanuchit; Somying Ngam-ululert; Porntip Paungmoung; Watcharin Rangsipanuratn (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2005)
    ศึกษาระบาดวิทยาของเชื้อ methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA) จำนวน 129 สายพันธุ์ ที่แยกได้จากผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลทั้งสิ้น 17 แห่ง 4 ภูมิภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือแล ...
  • เพ็ญพักตร์ มูลธิยะ; พัชรี กัมมารเจษฎากุล; ปัญจพร นิ่มมณี; ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ; อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ; Penpak Moolthiya; Patcharee Kammarnjassadakul; Panjaphorn Nimmanee; Panthip Rattanasinganchan; Isariya Ieamsuwan (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2018)
    ปลาสลิดเป็นปลาน้ำจืด ซึ่งเป็นปลาพื้นบ้านของประเทศไทย มีแหล่งกำเนิดอยู่ในที่ลุ่มภาคกลาง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า "Trichogaster pecteralis" นิยมเลี้ยงกันมากในแถบบริเวณภาคกลางของประเทศไทย การจัดจำแนกปลาจะอาศัยการสังเกตจากลักษณะรูปร่าง ...
  • อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ; วิชาญ จันทร์วิทยานุชิต; อรัญญา จุติวิบูลย์สุข; สุวรรณา เสมศรี; ณัฐริณี หอระตะ; ภูริต ธนะรังสฤษฎ์; คม สุคนธสรรพ์; Isariya Ieamsuwan; Wicharn Janwitayanuchit; Aranya Jutiviboonsuk; Suwanna Semsri; Natharinee Horata; Phurit Thanarangsarit; Kom Sukontason (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2018)
    ปลาสลิดแดดเดียว คือ ผลิตภัณฑ์แปรรูปซึ่งเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค ในขั้นตอนการทำให้แห้งโดยแดด แมลงวันจำนวนมากถูกพบบริเวณที่มีการตากปลาสลิด แมลงวันเป็นพาหะนำโรคไปสู่มนุษย์ เช่น โรคที่มากับอาหาร โดยเฉพาะแมลงวันหัวเขียวซึ่ง ...
  • ชลันดา กองมะเริง; สุวรรณา เสมศรี; พิมพรรณ กิจพ่อค้า; ทัศนีย์ มงคลสุข; มยุรี เก่งเกตุ; Chalunda Kongmaroeng; Suwanna Semsri; Pimpun Kitporka; Tasanee Mongkolsuk; Mayuree Kengkate (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2006)
    การตรวจหายีนของแอนติเจนของเกล็ดเลือด (HPA genotyping) ได้อย่างถูกต้องและครบทุกระบบจำเป็นอย่างยิ่งในการวินิจฉัยผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะ neonatal alloimmune thrombocytopenic purpura (NAITP), platelet transfusion refractoriness ...
  • พรทิพย์ พึ่งม่วง; สุวรรณา เสมศรี; ณัฐริณี หอระตะ; สมหญิง งามอุรุเลิศ; ชมพูนุท สินธุพิบูลยกิจ; ชลันดา กองมะเริง; Porntip Paungmoung; Suwanna Semsri; Natharinee Horata; Somying Ngamurulert; Chompunoot Sinthupibulyakit; Chalunda Kongmaroeng (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2019)
    การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการในการประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตรเพื่อค้นหาข้อบกพร่องและปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้ดียิ่งขึ้น งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพือประเมินหลักสู ...
  • ศราวุธ สุทธิรัตน์; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ; สุรศักดิ์ หมื่นพล; Sarawut Suttirat; Taweebhorn Panpanich; Isariya Ieamsuwan; Surasak Muenphon (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2009)
    ทำการดัดแปลงวิธีอินไดเร็คอิมมูโนเพอร์ออกซิเดส (IIP) สำหรับตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM ต่อเชื้อเลปโตสไปรา แล้วนำมาทดสอบกับตัวอย่างซีรัมจำนวน 111 ตัวอย่าง ประกอบด้วยซีรัมของผู้ป่วยเลปโตสไปโรซิส 65 ตัวอย่าง ตัวอย่างซีรัมควบคุมผลลบ ...
  • ดวงมณี แสนมั่น; อภิชาติ สุขสำราญ; ชัชวาลย์ ช่างทำ; สราวุธ สายจันมา; สุชา จุลสำลี; พรสุรี พงษ์สุชาติ; Duangmanee Sanmun; Apichart Suksamran; Chatchawan Changtam; Sarawut Saichanma; Sucha Julsomlee; Pornsuri Pongsuchart (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่่อศึกษาประสิทธิภาพของสารเคอร์คิวมินอยด์สามชนิด ได้แก่ curcumin (C1), demethoxycurcumin (C2) และ bis-demethoxycurcumin (C3) และแอนะล็อกสองชนิด คือ di-O-demethylcurcumin (C4) และ mono-O-demethylcurcumin ...
  • พรทิพย์ พึ่งม่วง; วัชรินทร์ รังษีภาณุรัตน์; พัชรี กัมมารเจษฎากุล; ปัญจพร นิ่มมณี; สุทัศน์ บุญยงค์; Porntip Paungmoung; Watcharin Rangsipanuratn; Patcharee Kammarnjassadakul; Panjaphorn Nimmanee; Sutas Boonyong (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2012)
    ปัจจุบันมีรายงานการพบเชื้อ Acinetobacter baumannii ที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพกลุ่ม carbapenems เพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นปัญหาสําคัญทางด้านสาธารณสุขของทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้ศึกษาความชุกของเชื้อ A. baumannii ...
  • พัชรี กัมมารเจษฎากุล; จิดาภา เซคเคย์; นงนุช วณิตย์ธนาคม; Patcharee Kammarnjassadakul; Jidapa Szekely; Nongnuch Vanittanakom (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    เชื้อพิเทียม อินสิดิโอซัมเป็นเชื้อ homothallic oomycetes การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของเชื้อชนิดนี้เกิดการผสมพันธุ์ในตัวเอง โดยทั่วไปแล้วในเชื้อที่เป็น homothallic จะมีความหลากหลายทางพันธุกรรมต่ำในกลุ่มประชากรเดียวกัน ...
  • วีรวรรณ ชาญศิลป์; สิณีนาฏ อุทา; กฤศธร องค์ติลานนท์; Weerawan Charnsilpa; Sineenart Oota; Kritsatorn Ongtilanon (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคโปรไบโอติกกับระดับไตเตอร์ anti-A และ anti-B ผู้วิจัยและคณะได้ทําการเปรียบเทียบ ระดับไตเตอร์ anti-A และ anti-B ของกลุ่มตัวอย่างจํานวน 16 ราย ที่มีหมู่เลือด A, B และ O ก่อนและหลังการบร ...
  • ศราวุธ สุทธิรัตน์; ทวีพร พันธุ์พาณิชย์; ศันสนีย์ ตันติ์จธัม; Sarawut Suttirat; Taweeporn Phunpanich; Sansanee Tanjatham (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2004)
    การตรวจหาแอนติบอดี ต่อเชื้อเลปโตสไปรา โดยวิธีอินไดเรคอิมมูโนฟลูออเรสเซนต์ที่พัฒนาขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับผลตรวจโดยวิธีอินไดเรคอิมมูโนฟลูออเรสเซนต์ จากศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์พิษณุโลก พบว่ามีความไว ความจำเพา ประสิทธิภาพ ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account